ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ เปลือกต้นสีเทาอ่อน กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบรูปไข่กลับถึงรูปรี เป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง ขอบใบจักฟันเลื่อยตื้นๆ ใกล้ปลายใบ แผ่นใบหนา ด้านล่างมีนวลสีขาว ผลรูปไข่ กาบหุ้มผลรูปถ้วย ขอบมักขยายกว้าง ผิวกาบเป็นเกล็ด เรียงเป็นวงตามขวาง 8-12 วง มีขนสีทอง ติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กันยายน
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ เปลือกต้นสีเทาอ่อน กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบรูปไข่กลับถึงรูปรี เป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง ขอบใบจักฟันเลื่อยตื้นๆ ใกล้ปลายใบ แผ่นใบหนา ด้านล่างมีนวลสีขาว ผลรูปไข่ กาบหุ้มผลรูปถ้วย ขอบมักขยายกว้าง ผิวกาบเป็นเกล็ด เรียงเป็นวงตามขวาง 8-12 วง มีขนสีทอง ติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กันยายน
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในป่าดิบแล้ง
-
พบในป่าดิบแล้ง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เลย
-
บุรีรัมย์
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ตาก
-
ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช