ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- พืชล้มลุก แผ่คลุมพื้นดิน สูง 10-30 ซม. ลำต้นและ กิ่งก้านมีขนสีน้ำตาลอ่อนปกคลุม ใบ เป็นใบประกอบแบบ มีใบย่อย 1 ใบ รูปเกือบกลม ขนาด 7.5-23 ซม. ปลายใบมน โคนใบเว้ารูปหัวใจ ผิวใบและก้านใบมีขนหนาแน่น ก้านใบยาวได้ถึง 20 ซม. หูใบรูปสามเหลี่ยม ปลายเรียวแหลม เป็นเส้น ยาว 1-2 ซม. ดอก สีม่วงอ่อนแกมชมพู ออกเป็นช่อตั้ง ยาว 6-10 ซม. ดอกย่อยจำนวนมาก รูปดอกถั่ว ขนาดประมาณ 6-8 มม. ใบประดับรูปหอก สีน้ำตาลแดง ยาว 1-1.5 ซม. กลีบรองดอกปลายแยก 5 กลีบ 3 กลีบล่าง เป็นเส้นสีน้ำตาลแดงอ่อน ยาวประมาณ 8 มม. กลีบดอก 5 กลีบ ขอบกลีบส่วนบนมีสีเข้มกว่า กลีบอื่นๆ ผล เป็นฝักแบน รูปกลมรี กว้างประมาณ 3 มม. มี 1 เมล็ด
- พืชล้มลุก แผ่คลุมพื้นดิน สูง 10-30 ซม. ลำต้นและ กิ่งก้านมีขนสีน้ำตาลอ่อนปกคลุม ใบ เป็นใบประกอบแบบ มีใบย่อย 1 ใบ รูปเกือบกลม ขนาด 7.5-23 ซม. ปลายใบมน โคนใบเว้ารูปหัวใจ ผิวใบและก้านใบมีขนหนาแน่น ก้านใบยาวได้ถึง 20 ซม. หูใบรูปสามเหลี่ยม ปลายเรียวแหลม เป็นเส้น ยาว 1-2 ซม. ดอก สีม่วงอ่อนแกมชมพู ออกเป็นช่อตั้ง ยาว 6-10 ซม. ดอกย่อยจำนวนมาก รูปดอกถั่ว ขนาดประมาณ 6-8 มม. ใบประดับรูปหอก สีน้ำตาลแดง ยาว 1-1.5 ซม. กลีบรองดอกปลายแยก 5 กลีบ 3 กลีบล่าง เป็นเส้นสีน้ำตาลแดงอ่อน ยาวประมาณ 8 มม. กลีบดอก 5 กลีบ ขอบกลีบส่วนบนมีสีเข้มกว่า กลีบอื่นๆ ผล เป็นฝักแบน รูปกลมรี กว้างประมาณ 3 มม. มี 1 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- พบในภูมิภาคอินโดจีน ประเทศไทยพบทางภาคตะวันออกและภาคเหนือ ที่ระดับความสูงถึง 1,500 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม
- พบในภูมิภาคอินโดจีน ประเทศไทยพบทางภาคตะวันออกและภาคเหนือ ที่ระดับความสูงถึง 1,500 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- บุรีรัมย์
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ