ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้เลื้อย มีมือเกาะ ใบเป็นใบเดี่ยว แผ่นใบแผ่เว้าเป็น 5 แฉก ขนาดกว้าง 5-8 ซม. ขอบใบมีต่อมคายน้ำ โคนใบเป็นรูปหัวใจ ปลายใบแหลมมน ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบยาว 3-6 ซม. ดอกสีขาว เป็นดอกเดี่ยว แยกเพศ อยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ขนาด 4-6 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 3 อัน อับเรณูขนาดใหญ่รูปขอบขนาน สีเหลืองเป็นก้อนอยู่ในคอดอก ดอกเพศเมีย กลีบดอกเหมือนดอกเพศผู้ ยอดเกสรแยกเป็น 3-5 แฉก ผลเป็นผลสด รูปขอบขนานหรือรูปป้อม กว้างประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ 5 ซม. ผลแก่สีแดงส้ม เมล็ดแบนรี มีจำนวนมาก ขนาด 2-3 มม.
- ไม้เลื้อย มีมือเกาะ ใบเป็นใบเดี่ยว แผ่นใบแผ่เว้าเป็น 5 แฉก ขนาดกว้าง 5-8 ซม. ขอบใบมีต่อมคายน้ำ โคนใบเป็นรูปหัวใจ ปลายใบแหลมมน ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบยาว 3-6 ซม. ดอกสีขาว เป็นดอกเดี่ยว แยกเพศ อยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ขนาด 4-6 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 3 อัน อับเรณูขนาดใหญ่รูปขอบขนาน สีเหลืองเป็นก้อนอยู่ในคอดอก ดอกเพศเมีย กลีบดอกเหมือนดอกเพศผู้ ยอดเกสรแยกเป็น 3-5 แฉก ผลเป็นผลสด รูปขอบขนานหรือรูปป้อม กว้างประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ 5 ซม. ผลแก่สีแดงส้ม เมล็ดแบนรี มีจำนวนมาก ขนาด 2-3 มม.
- ไม้เลื้อย มีมือเกาะ ใบเป็นใบเดี่ยว แผ่นใบแผ่เว้าเป็น 5 แฉก ขนาดกว้าง 5-8 ซม. ขอบใบมีต่อมคายน้ำ โคนใบเป็นรูปหัวใจ ปลายใบแหลมมน ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบยาว 3-6 ซม. ดอกสีขาว เป็นดอกเดี่ยว แยกเพศ อยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ขนาด 4-6 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 3 อัน อับเรณูขนาดใหญ่รูปขอบขนาน สีเหลืองเป็นก้อนอยู่ในคอดอก ดอกเพศเมีย กลีบดอกเหมือนดอกเพศผู้ ยอดเกสรแยกเป็น 3-5 แฉก ผลเป็นผลสด รูปขอบขนานหรือรูปป้อม กว้างประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ 5 ซม. ผลแก่สีแดงส้ม เมล็ดแบนรี มีจำนวนมาก ขนาด 2-3 มม.
- ไม้เลื้อย มีมือเกาะ ใบเป็นใบเดี่ยว แผ่นใบแผ่เว้าเป็น 5 แฉก ขนาดกว้าง 5-8 ซม. ขอบใบมีต่อมคายน้ำ โคนใบเป็นรูปหัวใจ ปลายใบแหลมมน ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบยาว 3-6 ซม. ดอกสีขาว เป็นดอกเดี่ยว แยกเพศ อยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ขนาด 4-6 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 3 อัน อับเรณูขนาดใหญ่รูปขอบขนาน สีเหลืองเป็นก้อนอยู่ในคอดอก ดอกเพศเมีย กลีบดอกเหมือนดอกเพศผู้ ยอดเกสรแยกเป็น 3-5 แฉก ผลเป็นผลสด รูปขอบขนานหรือรูปป้อม กว้างประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ 5 ซม. ผลแก่สีแดงส้ม เมล็ดแบนรี มีจำนวนมาก ขนาด 2-3 มม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นกระจายทั่วไปในเอเชียเขตร้อน ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเลต่ำกว่า 1,000 ม. ออกดอกระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
- พบขึ้นกระจายทั่วไปในเอเชียเขตร้อน ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเลต่ำกว่า 1,000 ม. ออกดอกระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
- พบขึ้นกระจายทั่วไปในเอเชียเขตร้อน ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเลต่ำกว่า 1,000 ม. ออกดอกระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
- พบขึ้นกระจายทั่วไปในเอเชียเขตร้อน ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเลต่ำกว่า 1,000 ม. ออกดอกระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
- ลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ต้มกิน และนำไปปรุงอาหาร ช่วยลดไข้ ทาถอนพิษ ขับเสมหะ แก้คัน และปวดแสบปวดร้อน ดอก รสเย็น โขลกเป็นยาทาแก้คัน แก้ไข้ทั้งปวง หยอดตาแก้ริดสีดวงตา
ข้อมูลภูมิปัญญา
- ผักริมรั้วฤทธิ์เย็น :: วิธีสังเกตอาการร่างกายที่มีภาวะร้อนเกินไป เช่น ปากแห้ง คอแห้งง่าย ขี้หงุดหงิด มีไข้ต่ำๆ ช่วงบ่าย-ค่ำ ฝ่ามือฝ่าเท้าร้อน ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม เป็นต้น การปรับสมดุลในร่างกาย ลดความร้อนภายใน และทำให้เรารู้สึกสดชื่น คือ การเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสม ซึ่งการเลือกทานได้อย่างเหมาะสม และถูกต้องตามหลักโภชนาการนั้น สามารถช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรง ไม่ป่วยง่าย รวมทั้งช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เป็นอย่างดี ที่มา : หนังสือ อายุยืนหมื่นปี ปฏิวัติสุขภาพ ด้วยสมุนไพรสไตล์โมเดิร์น , www.baanlaesuan.com/ และ www.thaibiodiversity.org/
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Dry
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
COUNTRY CULTIVAR
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด
DOAVG 00036 ตำลึง Coccinia grandis
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด