ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ลองป้อม(เลย) ถ่อนดี(ภาคกลาง) น่องป้อม ทนดี(ตรัง) ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่มสูงถึง 2 ม. ใบเดี่ยว มักเป็นรูปไข่ หรือ รูปขอบขนาน กว้าง 3-10 ยาว 8-12 ซม. ก้านใบ ยาว 2-13 ซม. ฐานใบมักจะมน ขอบใบ จักเป็นฟันเลื่อย หรือยักมน บางครั้งขอบเว้าเป็นแฉก 3-5 แฉก ปลายมน หรือแหลม เกลี้ยง หรือมีขนแข็งเอน ทั้งสองด้านของใบ ดอก แยกเพศ ออกเป็นช่อ ช่อดอกเพศผู้ ยาว 1-8 ซม. ดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 มม. ช่อดอกเพศเมีย ยาว 0.1-1 ซม. ดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 มม. ผล ห้อยลง ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1.3 ซม. กลีบเลี้ยงติดคงทน ขยายตัวเมื่อติดผล เมล็ด รูปไข่ สีน้ำตาล กว้าง 3 ยาว 3.5 มม.
-
ลองป้อม(เลย) ถ่อนดี(ภาคกลาง) น่องป้อม ทนดี(ตรัง) ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่มสูงถึง 2 ม. ใบเดี่ยว มักเป็นรูปไข่ หรือ รูปขอบขนาน กว้าง 3-10 ยาว 8-12 ซม. ก้านใบ ยาว 2-13 ซม. ฐานใบมักจะมน ขอบใบ จักเป็นฟันเลื่อย หรือยักมน บางครั้งขอบเว้าเป็นแฉก 3-5 แฉก ปลายมน หรือแหลม เกลี้ยง หรือมีขนแข็งเอน ทั้งสองด้านของใบ ดอก แยกเพศ ออกเป็นช่อ ช่อดอกเพศผู้ ยาว 1-8 ซม. ดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 มม. ช่อดอกเพศเมีย ยาว 0.1-1 ซม. ดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 มม. ผล ห้อยลง ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1.3 ซม. กลีบเลี้ยงติดคงทน ขยายตัวเมื่อติดผล เมล็ด รูปไข่ สีน้ำตาล กว้าง 3 ยาว 3.5 มม.
-
ลองป้อม(เลย) ถ่อนดี(ภาคกลาง) น่องป้อม ทนดี(ตรัง) ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่มสูงถึง 2 ม. ใบเดี่ยว มักเป็นรูปไข่ หรือ รูปขอบขนาน กว้าง 3-10 ยาว 8-12 ซม. ก้านใบ ยาว 2-13 ซม. ฐานใบมักจะมน ขอบใบ จักเป็นฟันเลื่อย หรือยักมน บางครั้งขอบเว้าเป็นแฉก 3-5 แฉก ปลายมน หรือแหลม เกลี้ยง หรือมีขนแข็งเอน ทั้งสองด้านของใบ ดอก แยกเพศ ออกเป็นช่อ ช่อดอกเพศผู้ ยาว 1-8 ซม. ดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 มม. ช่อดอกเพศเมีย ยาว 0.1-1 ซม. ดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 มม. ผล ห้อยลง ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1.3 ซม. กลีบเลี้ยงติดคงทน ขยายตัวเมื่อติดผล เมล็ด รูปไข่ สีน้ำตาล กว้าง 3 ยาว 3.5 มม.
-
ลองป้อม(เลย) ถ่อนดี(ภาคกลาง) น่องป้อม ทนดี(ตรัง) ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่มสูงถึง 2 ม. ใบเดี่ยว มักเป็นรูปไข่ หรือ รูปขอบขนาน กว้าง 3-10 ยาว 8-12 ซม. ก้านใบ ยาว 2-13 ซม. ฐานใบมักจะมน ขอบใบ จักเป็นฟันเลื่อย หรือยักมน บางครั้งขอบเว้าเป็นแฉก 3-5 แฉก ปลายมน หรือแหลม เกลี้ยง หรือมีขนแข็งเอน ทั้งสองด้านของใบ ดอก แยกเพศ ออกเป็นช่อ ช่อดอกเพศผู้ ยาว 1-8 ซม. ดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 มม. ช่อดอกเพศเมีย ยาว 0.1-1 ซม. ดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 มม. ผล ห้อยลง ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1.3 ซม. กลีบเลี้ยงติดคงทน ขยายตัวเมื่อติดผล เมล็ด รูปไข่ สีน้ำตาล กว้าง 3 ยาว 3.5 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
ปากีสถาน อินเดีย บังคลาเทศ เนปาล ศรีลังกา พม่า กัมพูชา ลาว เวียดนาม ชายฝั่งทะเลมาเลเซีย เกาะบอเนียว สุมาตรา ชวา สุราเวศรี มาลูกู เลสเซอร์ เกาะซันดร้า ประเทศไทยพบทั่วไปในป่าเบญจพรรณ หรือ ป่าดิบแล้ง จากระดับน้ำทะเลจนถึงระดับ 900 ม.
-
ปากีสถาน อินเดีย บังคลาเทศ เนปาล ศรีลังกา พม่า กัมพูชา ลาว เวียดนาม ชายฝั่งทะเลมาเลเซีย เกาะบอเนียว สุมาตรา ชวา สุราเวศรี มาลูกู เลสเซอร์ เกาะซันดร้า ประเทศไทยพบทั่วไปในป่าเบญจพรรณ หรือ ป่าดิบแล้ง จากระดับน้ำทะเลจนถึงระดับ 900 ม.
-
ปากีสถาน อินเดีย บังคลาเทศ เนปาล ศรีลังกา พม่า กัมพูชา ลาว เวียดนาม ชายฝั่งทะเลมาเลเซีย เกาะบอเนียว สุมาตรา ชวา สุราเวศรี มาลูกู เลสเซอร์ เกาะซันดร้า ประเทศไทยพบทั่วไปในป่าเบญจพรรณ หรือ ป่าดิบแล้ง จากระดับน้ำทะเลจนถึงระดับ 900 ม.
-
ปากีสถาน อินเดีย บังคลาเทศ เนปาล ศรีลังกา พม่า กัมพูชา ลาว เวียดนาม ชายฝั่งทะเลมาเลเซีย เกาะบอเนียว สุมาตรา ชวา สุราเวศรี มาลูกู เลสเซอร์ เกาะซันดร้า ประเทศไทยพบทั่วไปในป่าเบญจพรรณ หรือ ป่าดิบแล้ง จากระดับน้ำทะเลจนถึงระดับ 900 ม.
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก มีความสูงได้ประมาณ 1-2 เมตร แตกแขนงจากโคนต้น ส่วนลำต้นเป็นสีเขียวมีขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร หรืออาจเล็กกว่านี้ เปลือกลำต้นเรียบเป็นสีน้ำตาล ยอดอ่อนมีขนสีขาว เป็นพรรณไม้ที่มีอายุอยู่ได้นานและทนทาน ตายยาก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด มีเขตการกระจายพันธุ์ในอินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ศรีลังกา ลงมาจนถึงพม่า กัมพูชา ลาว เวียดนาม อินโดจีน คาบสมุทรมาเลเซีย เกาะบอเนียว สุมาตรา ชวา มาลูกู สุราเวศรี เลสเซอร์ เกาะซันดร้า ส่วนในประเทศไทยพบขึ้นทั่วไปตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าไผ่ และตามที่รกร้าง จนถึงระดับความสูง 700 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ใบมีขนาดและรูปร่างต่างกัน ใบที่อยู่ส่วนยอดจะมีลักษณะเป็นรูปรีหรือรูปใบหอก มีขนาดกว้างประมาณ 3-4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร ส่วนใบที่อยู่โคนต้นขอบใบจะหยักเว้าเป็น 3-5 แฉก ลักษณะของใบจะเป็นรูปไข่แกมขอบขนานหรือเกือบกลม ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ตามขอบใบจักเป็นซี่ฟันห่างกันไม่สม่ำเสมอ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-8 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-18 เซนติเมตร เนื้อใบบาง เส้นใบด้านล่างเห็นชัดกว่าด้านบน ก้านใบมีลักษณะเรียวยาว มีความยาวประมาณ 2-6 เซนติเมตร ยอดอ่อนมีขน ดอกมีขนาดเล็กสีขาวเหลือง ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกมีลักษณะเล็กเรียว ยาวประมาณ 3.5-12 เซนติเมตร ดอกเป็นแบบแยกเพศอยู่ในช่อเดียวกัน โดยดอกเพศผู้จะอยู่ตอนบนของช่อและมีจำนวนมาก ดอกมีรูปร่างกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ไม่มีกลีบดอก แต่มีกลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ฐานดอกมีต่อมประมาณ 4-6 ต่อม มีเกสรเพศผู้ประมาณ 15-20 อัน อับเรณูคล้ายรูปถั่ว ก้านดอกย่อยมีลักษณะเล็กเรียวคล้ายเส้นด้าย ยาวประมาณ 3-5 มิลลิเมตร ส่วนดอกเพศเมียจะอยู่โคนช่อของดอก ไม่มีกลีบดอกเช่นกัน มีกลีบเลี้ยงเป็นรูปไข่ปลายแหลม ขอบจัก ฐานดอกเป็นรูปถ้วยสั้น ๆ รังไข่มี 3 พู ก้านเกสรเพศเมียจะแยกออกเป็น 2 แฉก ลักษณะม้วนออก ผลมีลักษณะเป็นพู 3 พู ปลายผลเว้าหรือบุ๋ม มีก้านเกสรเพศเมียติดอยู่ 2 อัน โคนผลกลม มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ที่ขั้วผล ผลเป็นสีเขียว ส่วนโคนของผลจะมีสีเข้มกว่าตอนปลาย เมื่อแก่แล้วจะแตกออกตามยาวที่กลางพู แต่ละพูจะมีเมล็ด 1 เมล็ด ลักษณะของเมล็ดเป็นรูปขอบขนาน
-
จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก มีความสูงได้ประมาณ 1-2 เมตร แตกแขนงจากโคนต้น ส่วนลำต้นเป็นสีเขียวมีขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร หรืออาจเล็กกว่านี้ เปลือกลำต้นเรียบเป็นสีน้ำตาล ยอดอ่อนมีขนสีขาว เป็นพรรณไม้ที่มีอายุอยู่ได้นานและทนทาน ตายยาก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด มีเขตการกระจายพันธุ์ในอินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ศรีลังกา ลงมาจนถึงพม่า กัมพูชา ลาว เวียดนาม อินโดจีน คาบสมุทรมาเลเซีย เกาะบอเนียว สุมาตรา ชวา มาลูกู สุราเวศรี เลสเซอร์ เกาะซันดร้า ส่วนในประเทศไทยพบขึ้นทั่วไปตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าไผ่ และตามที่รกร้าง จนถึงระดับความสูง 700 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ใบมีขนาดและรูปร่างต่างกัน ใบที่อยู่ส่วนยอดจะมีลักษณะเป็นรูปรีหรือรูปใบหอก มีขนาดกว้างประมาณ 3-4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร ส่วนใบที่อยู่โคนต้นขอบใบจะหยักเว้าเป็น 3-5 แฉก ลักษณะของใบจะเป็นรูปไข่แกมขอบขนานหรือเกือบกลม ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ตามขอบใบจักเป็นซี่ฟันห่างกันไม่สม่ำเสมอ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-8 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-18 เซนติเมตร เนื้อใบบาง เส้นใบด้านล่างเห็นชัดกว่าด้านบน ก้านใบมีลักษณะเรียวยาว มีความยาวประมาณ 2-6 เซนติเมตร ยอดอ่อนมีขน ดอกมีขนาดเล็กสีขาวเหลือง ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกมีลักษณะเล็กเรียว ยาวประมาณ 3.5-12 เซนติเมตร ดอกเป็นแบบแยกเพศอยู่ในช่อเดียวกัน โดยดอกเพศผู้จะอยู่ตอนบนของช่อและมีจำนวนมาก ดอกมีรูปร่างกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ไม่มีกลีบดอก แต่มีกลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ฐานดอกมีต่อมประมาณ 4-6 ต่อม มีเกสรเพศผู้ประมาณ 15-20 อัน อับเรณูคล้ายรูปถั่ว ก้านดอกย่อยมีลักษณะเล็กเรียวคล้ายเส้นด้าย ยาวประมาณ 3-5 มิลลิเมตร ส่วนดอกเพศเมียจะอยู่โคนช่อของดอก ไม่มีกลีบดอกเช่นกัน มีกลีบเลี้ยงเป็นรูปไข่ปลายแหลม ขอบจัก ฐานดอกเป็นรูปถ้วยสั้น ๆ รังไข่มี 3 พู ก้านเกสรเพศเมียจะแยกออกเป็น 2 แฉก ลักษณะม้วนออก ผลมีลักษณะเป็นพู 3 พู ปลายผลเว้าหรือบุ๋ม มีก้านเกสรเพศเมียติดอยู่ 2 อัน โคนผลกลม มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ที่ขั้วผล ผลเป็นสีเขียว ส่วนโคนของผลจะมีสีเข้มกว่าตอนปลาย เมื่อแก่แล้วจะแตกออกตามยาวที่กลางพู แต่ละพูจะมีเมล็ด 1 เมล็ด ลักษณะของเมล็ดเป็นรูปขอบขนาน
-
จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก มีความสูงได้ประมาณ 1-2 เมตร แตกแขนงจากโคนต้น ส่วนลำต้นเป็นสีเขียวมีขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร หรืออาจเล็กกว่านี้ เปลือกลำต้นเรียบเป็นสีน้ำตาล ยอดอ่อนมีขนสีขาว เป็นพรรณไม้ที่มีอายุอยู่ได้นานและทนทาน ตายยาก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด มีเขตการกระจายพันธุ์ในอินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ศรีลังกา ลงมาจนถึงพม่า กัมพูชา ลาว เวียดนาม อินโดจีน คาบสมุทรมาเลเซีย เกาะบอเนียว สุมาตรา ชวา มาลูกู สุราเวศรี เลสเซอร์ เกาะซันดร้า ส่วนในประเทศไทยพบขึ้นทั่วไปตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าไผ่ และตามที่รกร้าง จนถึงระดับความสูง 700 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ใบมีขนาดและรูปร่างต่างกัน ใบที่อยู่ส่วนยอดจะมีลักษณะเป็นรูปรีหรือรูปใบหอก มีขนาดกว้างประมาณ 3-4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร ส่วนใบที่อยู่โคนต้นขอบใบจะหยักเว้าเป็น 3-5 แฉก ลักษณะของใบจะเป็นรูปไข่แกมขอบขนานหรือเกือบกลม ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ตามขอบใบจักเป็นซี่ฟันห่างกันไม่สม่ำเสมอ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-8 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-18 เซนติเมตร เนื้อใบบาง เส้นใบด้านล่างเห็นชัดกว่าด้านบน ก้านใบมีลักษณะเรียวยาว มีความยาวประมาณ 2-6 เซนติเมตร ยอดอ่อนมีขน ดอกมีขนาดเล็กสีขาวเหลือง ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกมีลักษณะเล็กเรียว ยาวประมาณ 3.5-12 เซนติเมตร ดอกเป็นแบบแยกเพศอยู่ในช่อเดียวกัน โดยดอกเพศผู้จะอยู่ตอนบนของช่อและมีจำนวนมาก ดอกมีรูปร่างกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ไม่มีกลีบดอก แต่มีกลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ฐานดอกมีต่อมประมาณ 4-6 ต่อม มีเกสรเพศผู้ประมาณ 15-20 อัน อับเรณูคล้ายรูปถั่ว ก้านดอกย่อยมีลักษณะเล็กเรียวคล้ายเส้นด้าย ยาวประมาณ 3-5 มิลลิเมตร ส่วนดอกเพศเมียจะอยู่โคนช่อของดอก ไม่มีกลีบดอกเช่นกัน มีกลีบเลี้ยงเป็นรูปไข่ปลายแหลม ขอบจัก ฐานดอกเป็นรูปถ้วยสั้น ๆ รังไข่มี 3 พู ก้านเกสรเพศเมียจะแยกออกเป็น 2 แฉก ลักษณะม้วนออก ผลมีลักษณะเป็นพู 3 พู ปลายผลเว้าหรือบุ๋ม มีก้านเกสรเพศเมียติดอยู่ 2 อัน โคนผลกลม มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ที่ขั้วผล ผลเป็นสีเขียว ส่วนโคนของผลจะมีสีเข้มกว่าตอนปลาย เมื่อแก่แล้วจะแตกออกตามยาวที่กลางพู แต่ละพูจะมีเมล็ด 1 เมล็ด ลักษณะของเมล็ดเป็นรูปขอบขนาน
-
จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก มีความสูงได้ประมาณ 1-2 เมตร แตกแขนงจากโคนต้น ส่วนลำต้นเป็นสีเขียวมีขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร หรืออาจเล็กกว่านี้ เปลือกลำต้นเรียบเป็นสีน้ำตาล ยอดอ่อนมีขนสีขาว เป็นพรรณไม้ที่มีอายุอยู่ได้นานและทนทาน ตายยาก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด มีเขตการกระจายพันธุ์ในอินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ศรีลังกา ลงมาจนถึงพม่า กัมพูชา ลาว เวียดนาม อินโดจีน คาบสมุทรมาเลเซีย เกาะบอเนียว สุมาตรา ชวา มาลูกู สุราเวศรี เลสเซอร์ เกาะซันดร้า ส่วนในประเทศไทยพบขึ้นทั่วไปตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าไผ่ และตามที่รกร้าง จนถึงระดับความสูง 700 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ใบมีขนาดและรูปร่างต่างกัน ใบที่อยู่ส่วนยอดจะมีลักษณะเป็นรูปรีหรือรูปใบหอก มีขนาดกว้างประมาณ 3-4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร ส่วนใบที่อยู่โคนต้นขอบใบจะหยักเว้าเป็น 3-5 แฉก ลักษณะของใบจะเป็นรูปไข่แกมขอบขนานหรือเกือบกลม ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ตามขอบใบจักเป็นซี่ฟันห่างกันไม่สม่ำเสมอ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-8 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-18 เซนติเมตร เนื้อใบบาง เส้นใบด้านล่างเห็นชัดกว่าด้านบน ก้านใบมีลักษณะเรียวยาว มีความยาวประมาณ 2-6 เซนติเมตร ยอดอ่อนมีขน ดอกมีขนาดเล็กสีขาวเหลือง ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกมีลักษณะเล็กเรียว ยาวประมาณ 3.5-12 เซนติเมตร ดอกเป็นแบบแยกเพศอยู่ในช่อเดียวกัน โดยดอกเพศผู้จะอยู่ตอนบนของช่อและมีจำนวนมาก ดอกมีรูปร่างกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ไม่มีกลีบดอก แต่มีกลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ฐานดอกมีต่อมประมาณ 4-6 ต่อม มีเกสรเพศผู้ประมาณ 15-20 อัน อับเรณูคล้ายรูปถั่ว ก้านดอกย่อยมีลักษณะเล็กเรียวคล้ายเส้นด้าย ยาวประมาณ 3-5 มิลลิเมตร ส่วนดอกเพศเมียจะอยู่โคนช่อของดอก ไม่มีกลีบดอกเช่นกัน มีกลีบเลี้ยงเป็นรูปไข่ปลายแหลม ขอบจัก ฐานดอกเป็นรูปถ้วยสั้น ๆ รังไข่มี 3 พู ก้านเกสรเพศเมียจะแยกออกเป็น 2 แฉก ลักษณะม้วนออก ผลมีลักษณะเป็นพู 3 พู ปลายผลเว้าหรือบุ๋ม มีก้านเกสรเพศเมียติดอยู่ 2 อัน โคนผลกลม มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ที่ขั้วผล ผลเป็นสีเขียว ส่วนโคนของผลจะมีสีเข้มกว่าตอนปลาย เมื่อแก่แล้วจะแตกออกตามยาวที่กลางพู แต่ละพูจะมีเมล็ด 1 เมล็ด ลักษณะของเมล็ดเป็นรูปขอบขนาน
-
จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก มีความสูงได้ประมาณ 1-2 เมตร แตกแขนงจากโคนต้น ส่วนลำต้นเป็นสีเขียวมีขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร หรืออาจเล็กกว่านี้ เปลือกลำต้นเรียบเป็นสีน้ำตาล ยอดอ่อนมีขนสีขาว เป็นพรรณไม้ที่มีอายุอยู่ได้นานและทนทาน ตายยาก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด มีเขตการกระจายพันธุ์ในอินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ศรีลังกา ลงมาจนถึงพม่า กัมพูชา ลาว เวียดนาม อินโดจีน คาบสมุทรมาเลเซีย เกาะบอเนียว สุมาตรา ชวา มาลูกู สุราเวศรี เลสเซอร์ เกาะซันดร้า ส่วนในประเทศไทยพบขึ้นทั่วไปตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าไผ่ และตามที่รกร้าง จนถึงระดับความสูง 700 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ใบมีขนาดและรูปร่างต่างกัน ใบที่อยู่ส่วนยอดจะมีลักษณะเป็นรูปรีหรือรูปใบหอก มีขนาดกว้างประมาณ 3-4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 6-7 เซนติเมตร ส่วนใบที่อยู่โคนต้นขอบใบจะหยักเว้าเป็น 3-5 แฉก ลักษณะของใบจะเป็นรูปไข่แกมขอบขนานหรือเกือบกลม ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ตามขอบใบจักเป็นซี่ฟันห่างกันไม่สม่ำเสมอ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-8 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-18 เซนติเมตร เนื้อใบบาง เส้นใบด้านล่างเห็นชัดกว่าด้านบน ก้านใบมีลักษณะเรียวยาว มีความยาวประมาณ 2-6 เซนติเมตร ยอดอ่อนมีขน ดอกมีขนาดเล็กสีขาวเหลือง ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกมีลักษณะเล็กเรียว ยาวประมาณ 3.5-12 เซนติเมตร ดอกเป็นแบบแยกเพศอยู่ในช่อเดียวกัน โดยดอกเพศผู้จะอยู่ตอนบนของช่อและมีจำนวนมาก ดอกมีรูปร่างกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ไม่มีกลีบดอก แต่มีกลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ฐานดอกมีต่อมประมาณ 4-6 ต่อม มีเกสรเพศผู้ประมาณ 15-20 อัน อับเรณูคล้ายรูปถั่ว ก้านดอกย่อยมีลักษณะเล็กเรียวคล้ายเส้นด้าย ยาวประมาณ 3-5 มิลลิเมตร ส่วนดอกเพศเมียจะอยู่โคนช่อของดอก ไม่มีกลีบดอกเช่นกัน มีกลีบเลี้ยงเป็นรูปไข่ปลายแหลม ขอบจัก ฐานดอกเป็นรูปถ้วยสั้น ๆ รังไข่มี 3 พู ก้านเกสรเพศเมียจะแยกออกเป็น 2 แฉก ลักษณะม้วนออก ผลมีลักษณะเป็นพู 3 พู ปลายผลเว้าหรือบุ๋ม มีก้านเกสรเพศเมียติดอยู่ 2 อัน โคนผลกลม มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ที่ขั้วผล ผลเป็นสีเขียว ส่วนโคนของผลจะมีสีเข้มกว่าตอนปลาย เมื่อแก่แล้วจะแตกออกตามยาวที่กลางพู แต่ละพูจะมีเมล็ด 1 เมล็ด ลักษณะของเมล็ดเป็นรูปขอบขนาน