ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูง 15-25 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี กว้าง 10-14 ซม. ยาว 12-23 ซม. ผิวใบเกลี้ยง เนื้อใบหนาคล้ายหนัง ช่อดอกแบบกระจุกแน่น ทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 ซม. ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกเป็นหลอด สีเหลือง มีกลิ่นหอม ผลรูปไข่ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8 มม. ออกดอกเดือน พ.ค.-ก.ค.
- ไม้ต้น
- ไม้ต้น สูง 15-25 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี กว้าง 10-14 ซม. ยาว 12-23 ซม. ผิวใบเกลี้ยง เนื้อใบหนาคล้ายหนัง ช่อดอกแบบกระจุกแน่น ทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 ซม. ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกเป็นหลอด สีเหลือง มีกลิ่นหอม ผลรูปไข่ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8 มม. ออกดอกเดือน พ.ค.-ก.ค.
- ออกดอกเดือนสิงหาคม - ตุลาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลน้อย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พัทลุง, นครศรีธรรมราช
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- จันทบุรี
- ระยอง, จันทบุรี
- นครศรีธรรมราช
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- แม่ฮ่องสอน
- อุบลราชธานี
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- สุราษฎร์ธานี
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- เพชรบูรณ์
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงประมาณ 30 เมตร เปลือกสีเทาถึงน้ำตาลแดงใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่กว้าง กว้าง 4-18 เซนติเมตร ยาว 7-30 เซนติเมตร ปลายมนหรือแหลม โคนมน ด้านบนสีเขียวเป็นมัน มีหูใบระหว่างก้านใบ ด้านในมีต่อมขนาดเล็ก สีแดง ดอก แบบช่อกระจุกแน่น สีเหลืองอมสีส้ม ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4-5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 เกสร ติดบนหลอดกลีบดอก สีขาว รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียยาว 1 - 1.5 เซนติเมตร ผล รวม เมล็ดรูปไข่ถึงรูปกระสวยขนาดเล็กจำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิวกินี ออสเตรเลีย ประเทศไทยพบที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต้ บริเวณป่าที่ชุ่มชื้น ป่าพรุ ที่ระดับความสูง 500 เมตรจากระดับน้ำทะเล
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)