ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้นสูง 10-30 เมตร ลำต้นเขียว แตกกิ่งแนวเกือบระนาบรอบลำต้น ใบเป็นใบประกอบแบบพัด มีใบย่อย 5-11 ใบ ก้านรวมยาว 8-20 ซม. ใบย่อยรูปหอกกลีบ โคนใบเรียว ปลายใบแหลมเป็นหาง ขอบใบเรียบ กว้าง 2-3 ซม. ยาว 5-12 ซม. ดอกสีขาวนวล ออกเป็นกระจุกครั้งละ 1-5 ดอก ก้านดอกยาว 2.5-4 ซม. กลีบรองดอกรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 2-3 ซม. เกสรผู้ 5 อัน ยาว 3-5 ซม. ผลรูปป้อมรี ปลายแหลม ขนาดกว้าง 5 ซม. ยาว 10-15 ซม. ภายในมีขนปุย สีขาวอัดแน่น เมล็ดมีจำนวนมาก สีดำ ค่อนข้างกลมผิวเกลี้ยง
-
บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้น ลำต้นเปลาตรง สูงได้ประมาณ 10-30 เมตร ตรงยอดแผ่เป็นพุ่มกว้าง ลำต้นเป็นสีเขียวและมีหนามขึ้นอยู่ทั่วไปบริเวณโคนต้น ใบ:ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ก้านใบสั้นมาก ใบรูปรีหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายใบและโคนใบแหลม ขอบใบเรียบดอก:ดอกออกเป็นช่อกระจะ ตามซอกใบ ดอกเพศเมียออกที่ปลายช่อ ล้อมรอบด้วยดอกเพศผู้หลายดอก ดอกสีขาวแกมเหลืองหรือสีเหลืองอมเขียวขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 4-6 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน ไม่มีกลีบดอกผล:ผลทรงกลม มีส่วนของวงกลีบเลี้ยงติดอยู่ที่ปลายผล ผลแก่สีน้ำตาล แห้งแตก 3 ส่วน แต่ละส่วนมีเมล็ด 3 เมล็ดเปลือก:อื่นๆ:
ไม้ต้น ลำต้นเปลาตรง สูงได้ประมาณ 10-30 เมตร ตรงยอดแผ่เป็นพุ่มกว้าง ลำต้นเป็นสีเขียวและมีหนามขึ้นอยู่ทั่วไปบริเวณโคนต้น
ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ก้านใบสั้นมาก ใบรูปรีหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายใบและโคนใบแหลม ขอบใบเรียบ
ดอกออกเป็นช่อกระจะ ตามซอกใบ ดอกเพศเมียออกที่ปลายช่อ ล้อมรอบด้วยดอกเพศผู้หลายดอก ดอกสีขาวแกมเหลืองหรือสีเหลืองอมเขียวขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 4-6 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน ไม่มีกลีบดอก
ผลทรงกลม มีส่วนของวงกลีบเลี้ยงติดอยู่ที่ปลายผล ผลแก่สีน้ำตาล แห้งแตก 3 ส่วน แต่ละส่วนมีเมล็ด 3 เมล็ด
ไม้ต้น ลำต้นเปลาตรง สูงได้ประมาณ 10-30 เมตร ตรงยอดแผ่เป็นพุ่มกว้าง ลำต้นเป็นสีเขียวและมีหนามขึ้นอยู่ทั่วไปบริเวณโคนต้น
ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ก้านใบสั้นมาก ใบรูปรีหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายใบและโคนใบแหลม ขอบใบเรียบ
ดอกออกเป็นช่อกระจะ ตามซอกใบ ดอกเพศเมียออกที่ปลายช่อ ล้อมรอบด้วยดอกเพศผู้หลายดอก ดอกสีขาวแกมเหลืองหรือสีเหลืองอมเขียวขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 4-6 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน ไม่มีกลีบดอก
ผลทรงกลม มีส่วนของวงกลีบเลี้ยงติดอยู่ที่ปลายผล ผลแก่สีน้ำตาล แห้งแตก 3 ส่วน แต่ละส่วนมีเมล็ด 3 เมล็ด
-
ไม้ยืนต้นสูง 10-30 เมตร ลำต้นเขียว แตกกิ่งแนวเกือบระนาบรอบลำต้น ใบเป็นใบประกอบแบบพัด มีใบย่อย 5-11 ใบ ก้านรวมยาว 8-20 ซม. ใบย่อยรูปหอกกลีบ โคนใบเรียว ปลายใบแหลมเป็นหาง ขอบใบเรียบ กว้าง 2-3 ซม. ยาว 5-12 ซม. ดอกสีขาวนวล ออกเป็นกระจุกครั้งละ 1-5 ดอก ก้านดอกยาว 2.5-4 ซม. กลีบรองดอกรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 2-3 ซม. เกสรผู้ 5 อัน ยาว 3-5 ซม. ผลรูปป้อมรี ปลายแหลม ขนาดกว้าง 5 ซม. ยาว 10-15 ซม. ภายในมีขนปุย สีขาวอัดแน่น เมล็ดมีจำนวนมาก สีดำ ค่อนข้างกลมผิวเกลี้ยง
-
ไม้ยืนต้นสูง 10-30 เมตร ลำต้นเขียว แตกกิ่งแนวเกือบระนาบรอบลำต้น ใบเป็นใบประกอบแบบพัด มีใบย่อย 5-11 ใบ ก้านรวมยาว 8-20 ซม. ใบย่อยรูปหอกกลีบ โคนใบเรียว ปลายใบแหลมเป็นหาง ขอบใบเรียบ กว้าง 2-3 ซม. ยาว 5-12 ซม. ดอกสีขาวนวล ออกเป็นกระจุกครั้งละ 1-5 ดอก ก้านดอกยาว 2.5-4 ซม. กลีบรองดอกรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 2-3 ซม. เกสรผู้ 5 อัน ยาว 3-5 ซม. ผลรูปป้อมรี ปลายแหลม ขนาดกว้าง 5 ซม. ยาว 10-15 ซม. ภายในมีขนปุย สีขาวอัดแน่น เมล็ดมีจำนวนมาก สีดำ ค่อนข้างกลมผิวเกลี้ยง
-
ไม้ยืนต้นสูง 10-30 เมตร ลำต้นเขียว แตกกิ่งแนวเกือบระนาบรอบลำต้น ใบเป็นใบประกอบแบบพัด มีใบย่อย 5-11 ใบ ก้านรวมยาว 8-20 ซม. ใบย่อยรูปหอกกลีบ โคนใบเรียว ปลายใบแหลมเป็นหาง ขอบใบเรียบ กว้าง 2-3 ซม. ยาว 5-12 ซม. ดอกสีขาวนวล ออกเป็นกระจุกครั้งละ 1-5 ดอก ก้านดอกยาว 2.5-4 ซม. กลีบรองดอกรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 2-3 ซม. เกสรผู้ 5 อัน ยาว 3-5 ซม. ผลรูปป้อมรี ปลายแหลม ขนาดกว้าง 5 ซม. ยาว 10-15 ซม. ภายในมีขนปุย สีขาวอัดแน่น เมล็ดมีจำนวนมาก สีดำ ค่อนข้างกลมผิวเกลี้ยง
การกระจายพันธุ์ :
-
ถิ่นเดิมอยู่แถบทะเลอันดามัน มีปลูกทั่วไปในเขตร้อน
-
ชอบขึ้นตามริมลำธาร พบได้ทั่วตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบเขา
-
ถิ่นเดิมอยู่แถบทะเลอันดามัน มีปลูกทั่วไปในเขตร้อน
-
ถิ่นเดิมอยู่แถบทะเลอันดามัน มีปลูกทั่วไปในเขตร้อน
-
ถิ่นเดิมอยู่แถบทะเลอันดามัน มีปลูกทั่วไปในเขตร้อน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครศรีธรรมราช
-
ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เกาะกระ
-
ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ขนที่ติดอยู่ที่เมล็ดซึ่งเรียกว่า นุ่นหรือเส้นใยนุ่น สามารถนำมาใช้ยัดหมอน ฟูก และที่นอนได้