ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 8-15 เมตร ต้นทรงโปร่ง ใบ เป็นใบประกอบแบบ ขนนกสองชั้น เรียงสลับกันใบย่อย 8-16 คู่ รูปวงรีแกมขอบขนาน กว้าง 1-3.5 ซม. ยาว 2-5.5 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบมีลักษณะเป็นแกน สีเหลือง อ่อน มีขนประปราย ก้านดอกสั้นกลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 0.5-0.8 มม. ปลายแยก เป็นแฉกสั้น 5 แฉก กลีบดอกรูปขนานแกมรูปใบหอก ยาว 2-3 มม. รังไข่รูปขอบ ขนาน ยาว 1.5-2.5 มม. มีขน ผล เป็นฝัก รูปแถบบิดเวียน กว้าง 8-12 มม. มี รอยคอดตามรูปเมล็ดชัดเจน เมื่อแก่แตกตามยาวและบิดเพื่อกระจายเมล็ด เมล็ด รูปค่อนข้างกลม แข็ง สีแดงเลือดนกหรือแดงส้ม ผิวมัน ขนาดผ่าศูนย์กลาง 5-7 มม.
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 8-15 เมตร ต้นทรงโปร่ง ใบ เป็นใบประกอบแบบ ขนนกสองชั้น เรียงสลับกันใบย่อย 8-16 คู่ รูปวงรีแกมขอบขนาน กว้าง 1-3.5 ซม. ยาว 2-5.5 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบมีลักษณะเป็นแกน สีเหลือง อ่อน มีขนประปราย ก้านดอกสั้นกลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 0.5-0.8 มม. ปลายแยก เป็นแฉกสั้น 5 แฉก กลีบดอกรูปขนานแกมรูปใบหอก ยาว 2-3 มม. รังไข่รูปขอบ ขนาน ยาว 1.5-2.5 มม. มีขน ผล เป็นฝัก รูปแถบบิดเวียน กว้าง 8-12 มม. มี รอยคอดตามรูปเมล็ดชัดเจน เมื่อแก่แตกตามยาวและบิดเพื่อกระจายเมล็ด เมล็ด รูปค่อนข้างกลม แข็ง สีแดงเลือดนกหรือแดงส้ม ผิวมัน ขนาดผ่าศูนย์กลาง 5-7 มม.
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 8-15 เมตร ต้นทรงโปร่ง ใบ เป็นใบประกอบแบบ ขนนกสองชั้น เรียงสลับกันใบย่อย 8-16 คู่ รูปวงรีแกมขอบขนาน กว้าง 1-3.5 ซม. ยาว 2-5.5 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบมีลักษณะเป็นแกน สีเหลือง อ่อน มีขนประปราย ก้านดอกสั้นกลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 0.5-0.8 มม. ปลายแยก เป็นแฉกสั้น 5 แฉก กลีบดอกรูปขนานแกมรูปใบหอก ยาว 2-3 มม. รังไข่รูปขอบ ขนาน ยาว 1.5-2.5 มม. มีขน ผล เป็นฝัก รูปแถบบิดเวียน กว้าง 8-12 มม. มี รอยคอดตามรูปเมล็ดชัดเจน เมื่อแก่แตกตามยาวและบิดเพื่อกระจายเมล็ด เมล็ด รูปค่อนข้างกลม แข็ง สีแดงเลือดนกหรือแดงส้ม ผิวมัน ขนาดผ่าศูนย์กลาง 5-7 มม.
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 8-15 เมตร ต้นทรงโปร่ง ใบ เป็นใบประกอบแบบ ขนนกสองชั้น เรียงสลับกันใบย่อย 8-16 คู่ รูปวงรีแกมขอบขนาน กว้าง 1-3.5 ซม. ยาว 2-5.5 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบมีลักษณะเป็นแกน สีเหลือง อ่อน มีขนประปราย ก้านดอกสั้นกลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 0.5-0.8 มม. ปลายแยก เป็นแฉกสั้น 5 แฉก กลีบดอกรูปขนานแกมรูปใบหอก ยาว 2-3 มม. รังไข่รูปขอบ ขนาน ยาว 1.5-2.5 มม. มีขน ผล เป็นฝัก รูปแถบบิดเวียน กว้าง 8-12 มม. มี รอยคอดตามรูปเมล็ดชัดเจน เมื่อแก่แตกตามยาวและบิดเพื่อกระจายเมล็ด เมล็ด รูปค่อนข้างกลม แข็ง สีแดงเลือดนกหรือแดงส้ม ผิวมัน ขนาดผ่าศูนย์กลาง 5-7 มม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบตามป่าดงดิบ ป่าเบญจพรรณ ตามชายป่าหรือที่เปิด ที่ระดับความสูงไม่เกิน 700 เมตร ออกดอกเดือนเมษายน ผลแก่เดือนตุลาคม
- พบตามป่าดงดิบ ป่าเบญจพรรณ ตามชายป่าหรือที่เปิด ที่ระดับความสูงไม่เกิน 700 เมตร ออกดอกเดือนเมษายน ผลแก่เดือนตุลาคม
- พบตามป่าดงดิบ ป่าเบญจพรรณ ตามชายป่าหรือที่เปิด ที่ระดับความสูงไม่เกิน 700 เมตร ออกดอกเดือนเมษายน ผลแก่เดือนตุลาคม
- พบตามป่าดงดิบ ป่าเบญจพรรณ ตามชายป่าหรือที่เปิด ที่ระดับความสูงไม่เกิน 700 เมตร ออกดอกเดือนเมษายน ผลแก่เดือนตุลาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สุราษฎร์ธานี
- สงขลา
- พัทลุง
- ปัตตานี
- สุพรรณบุรี
- สงขลา
- สงขลา
- ตรัง, สตูล
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
- อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
- อุทยานแห่งชาติ พุเตย
- อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
- อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ