ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 25 เมตร ใบ ประกอบแบบนิ้วมือ ใบย่อย 3 ใบ รูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 1.5-15 ซม. ยาว 4-50 ซม. ดอก แยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน ดอกเพศผู้สีเหลือง กลีบรวมรูประฆังปลายแยกเป็น 5 กลีบ เกสรเพศผู้เชื่อมติดกัน อับเรณู 10 อัน ดอกเพศเมียมีฐานดอกสีเขียว ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 3 แฉก ผล แห้ง มี 3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 ซม. เมล็ดรูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3.5 ซม. มี 3 เมล็ด
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 25 เมตร ใบ ประกอบแบบนิ้วมือ ใบย่อย 3 ใบ รูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 1.5-15 ซม. ยาว 4-50 ซม. ดอก แยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน ดอกเพศผู้สีเหลือง กลีบรวมรูประฆังปลายแยกเป็น 5 กลีบ เกสรเพศผู้เชื่อมติดกัน อับเรณู 10 อัน ดอกเพศเมียมีฐานดอกสีเขียว ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 3 แฉก ผล แห้ง มี 3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 ซม. เมล็ดรูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3.5 ซม. มี 3 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพันธุ์ไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศบราซิล นำมาปลูกเป็นพืชเศรฐกิจทางภาคใต้และภาคตะวันออกของไทย
-
เป็นพันธุ์ไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศบราซิล นำมาปลูกเป็นพืชเศรฐกิจทางภาคใต้และภาคตะวันออกของไทย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาปะช้าง-แหลมขาม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 25 เมตร ใบ ประกอบแบบนิ้วมือ ใบย่อย 3 ใบ รูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 1.5-15 ซม. ยาว 4-50 ซม. ดอก แยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน ดอกเพศผู้สีเหลือง กลีบรวมรูประฆังปลายแยกเป็น 5 กลีบ เกสรเพศผู้เชื่อมติดกัน อับเรณู 10 อัน ดอกเพศเมียมีฐานดอกสีเขียว ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 3 แฉก ผล แห้ง มี 3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 ซม. เมล็ดรูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3.5 ซม. มี 3 เมล็ด
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 25 เมตร ใบ ประกอบแบบนิ้วมือ ใบย่อย 3 ใบ รูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 1.5-15 ซม. ยาว 4-50 ซม. ดอก แยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน ดอกเพศผู้สีเหลือง กลีบรวมรูประฆังปลายแยกเป็น 5 กลีบ เกสรเพศผู้เชื่อมติดกัน อับเรณู 10 อัน ดอกเพศเมียมีฐานดอกสีเขียว ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 3 แฉก ผล แห้ง มี 3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 ซม. เมล็ดรูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3.5 ซม. มี 3 เมล็ด
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การติดตา
2. การติดตา
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การติดตา
2. การติดตา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สงขลา
-
สงขลา
-
จันทบุรี
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เปลือก ให้น้ำยางใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์และอื่นๆ เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องเรือน ใบต้มกับด่างให้เหลือแต่เส้นใบ ใช้ทำดอกไม้ประดับและของชำร่วย
-
ประโยชน์ของยางพารา สามารถนำไปผลิตได้หลายอย่าง เช่น - ล้อรถยนต์ - สายพานต่าง ๆ - ยางรองพื้น - ยางรองคอสะพาน - ยางกันกระแทก - ล้อเครื่องบิน - ล้อยางเรเดียม - พื้นรองเท้า - ยางรัดของ - ลูกกอล์ฟ - กาว - พื้นรองเท้า - จุกขวด - พลาสเตอร์ยา - ผ้าก๊อต - ถุงมือ - ลูกโป่ง - ถุงยางอนามัย - ที่นอนฟองน้ำ - เครื่องมือทางการแพทย์
-
ประโยชน์ของยางพารา สามารถนำไปผลิตได้หลายอย่าง เช่น - ล้อรถยนต์ - สายพานต่าง ๆ - ยางรองพื้น - ยางรองคอสะพาน - ยางกันกระแทก - ล้อเครื่องบิน - ล้อยางเรเดียม - พื้นรองเท้า - ยางรัดของ - ลูกกอล์ฟ - กาว - พื้นรองเท้า - จุกขวด - พลาสเตอร์ยา - ผ้าก๊อต - ถุงมือ - ลูกโป่ง - ถุงยางอนามัย - ที่นอนฟองน้ำ - เครื่องมือทางการแพทย์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช