ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
เชียงใหม่,ลำพูน,กำแพงเพชร
-
เลย
-
เชียงใหม่
-
มุกดาหาร
-
พะเยา
-
น่าน
-
น่าน
-
น่าน
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิงตอนบน แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำลี้ ทะเลสาบดอยเต่า คลองสวนหมาก แม่น้ำปิงตอนล่าง
-
ป่าภูหลวง
-
พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
ภูผาเทิบ
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
-
อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็กถึงกลาง (33 ซม.) หัวใหญ่ ปากหนาสีดำ คอสั้น ลำตัวอวบใหญ่ ปีกและหางยาว เวลาที่เกาะจะเห็นเป็นสี
คล้ำๆ กระหม่อมและตะโพกสีฟ้าเหลือบปีกและหางสีฟ้าสดใสเห็นได้ชัดเจนเวลาบิน ด้านล่างลำตัวสีน้ำตาลอมม่วง
คล้ำๆ กระหม่อมและตะโพกสีฟ้าเหลือบปีกและหางสีฟ้าสดใสเห็นได้ชัดเจนเวลาบิน ด้านล่างลำตัวสีน้ำตาลอมม่วง
-
ขณะเกาะสีค่อนข้างคล้ำ ปากมีสีดำ ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลแกมเขียวคล้ำ ลำตัวด้านล่างสีม่วงแกมน้ำตาลมีลายขีดเล็กสี
ฟ้าที่คอและอกตอนบน ขณะบินปีกและหางสีฟ้าสดสลับน้ำเงินเข้ม
ฟ้าที่คอและอกตอนบน ขณะบินปีกและหางสีฟ้าสดสลับน้ำเงินเข้ม
ระบบนิเวศ :
-
พบตามทุ่งโล่ง มักพบเกาะตามกิ่งไม้แห้ง หรือบนสายไฟข้างถนนเพื่อมองหาเหยื่อ เมื่อพบแล้วจะพุ่งตัวลงไปจับพื้นดินอย่างรวดเร็ว ในบางครั้งอาจจะบินออกไปโฉบจับ กลางอากาศด้วย อาหารได้แก่แมลงขนาดใหญ่ สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์เล็กอื่นๆ
-
พื้นที่เกษตรกรรม ป่าโปร่ง
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
-
ระบบนิเวศเกษตร
การขยายพันธุ์ :
-
การผสมพันธุ์ ทำรังอยู่ตามโพรงไม้ซึ่งเป็นโพรงที่เกิดตามธรรมชาติ หรือโพรงเก่าของสัตว์อื่น ไข่สีขาว แต่ละรังมีไข่ 2-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 17- 18 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อื่นๆ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 18 Birds of Dry and Semi-Humid Ecosystem, 2550
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |