ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เอกลักษณ์ของช้างที่รู้จักกันดีก็คือ อวัยวะพิเศษสองอย่าง นั่นคืองวง และงา งวงเป็นจมูกและริมฝีปากบนที่พัฒนาให้ยื่นยาวออกมาเป็นอวัยวะอเนกประสงค์ ใช้หยิบจับสิ่งของ เปล่งเสียง สูบน้ำ ส่วนงาเป็นเขี้ยวที่พัฒนาให้ใหญ่ขึ้นใช้เป็นอาวุธและงัดยกสิ่งของได้ ช้างเพศผู้มีงาเรียกว่า "ช้างพลาย" แต่บางตัวไม่มีงาเรียก "ช้างสีดอ" เพศเมียปกติไม่มีงาเรียก "ช้างพัง" แต่บางตัวอาจมีงาสั้น ๆ เรียกงาสั้นๆ นี้ว่า "ขนาย" หนังบริเวณลำตัวหนาราว 1.93.2 เซนติเมตร เป็นสัตว์กระเพาะเดียว มีฟัน 26 ซี่
-
The largest terrestrial mammal in Thailand with a very large, round body and long trunk. The skin dark and thick with short hairs which cover the body and large ears. Both sexes can have tusks, but those of males always larger than those of females.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ช้างเป็นสัตว์ที่มีการกระจายพันธุ์ในกลุ่มประเทศเอเชียใต้ และกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
Mae Hong Son (San Pandan, Huai Nam Dung); Chiang Mai (Om Koi, MaeTuen); Nan (Doi Phu Kha); Tak (Doi Mon Chong, Thun Yai Naresuan); Kamphaeng Phet (Khlong Lan); Uthai Thani (Huai Kha Kaeng); Kanchanaburi (Salak Phra, Sai Yok, Erawan, Thong Pha Phum, Khao Laem); Phetchaburi (Kaeng Krachan); Uttaradit (Phu Miang-Phu Thong); Phitsanulok (Thung Salaeng Luang); Phetchabun (Nam Nao); Chaiyaphum (Phu Khieo, Ta Bak-Huai Yai); Nakhon Ratchasima (Khao Yai); Prachin Buri (Pang Sida); Sakaew (Ta Praya); Ubon Ratchathani (Bun Thrik-Yot Mon, Phu Jong-Na Yoi); Prachuap Khirikhan (Kui Buri); Surat Thani (Khlong Saeng, Tai Rom Yen); Phangnga (Khao Sok); Songkhla (Ton Nga Chang, Saba Yoi); Narathiwat/ Yala (Hala-Bala, Bang Lang, Huai Sai Khao, Khao Chi Po); Loei (Phu Luang, Phu Kradung); Nong Khai (Phu Wua); Sakon Nakhon (Phu Phan); Buriram (Dong Yai); Chachoengsao (Khao Ang Rue Nai); Rayong (Khlong Krue Whai, Khao Chamao- Khao Wong); Chanthaburi (Khao Soi Dao).
-
ป่าภูหลวง
-
ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
สถานที่ชม :
-
สวนสัตว์เปิดเขาเขียว,สวนสัตว์เชียงใหม่,สวนสัตว์สงขลา
การกระจายพันธุ์ :
-
กระจายเป็นจุดเล็กๆ เกือบทั่วประเทศ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
กระจายเป็นจุดเล็กๆ เกือบทั่วประเทศ
-
แม่ฮ่องสอน,เชียงใหม่,น่าน,ตาก,กำแพงเพชร,อุทัยธานี,กาญจนบุรี,เพชรบุรี,อุตรดิตถ์,พิษณุโลก,เพชรบูรณ์,ชัยภูมิ,นคราชสีมา,ปราจีนบุรี,สระแก้ว,อุบลราชธานี,ประจวบคีรีขันธ์,สุราษฎร์ธานี,พังงา,ยะลา,เลย,สกลนคร,หนองคาย,บุรีรัมย์,ฉะเชิงเทรา,ระยอง,จันทบุรี
-
เลย
-
อุบลราชธานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
ระบบนิเวศ :
-
Evergreen forest to mixed deciduous forest.
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ช่วยในการกระจายพันธุ์, อื่นๆ
-
ปลูกเป็นไม้ประดับ, ส่วนใหญ่ไม่รับประทานผลสดเพาะเนื้อเหนียวและไส้แข็ง ไม่หวาน มักจะทำให้สุกเช่นต้ม เผา จะทำให้รสหวานขึ้น, รับประทานผลสด ถ้าต้มเนื้อจะแน่นเหนียว
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, 2008)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, 2008)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, 2008)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, 2008)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
-
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
IUCN Red List
-
IUCN Red List
-
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ข้อมูลสภานภาพ CITES
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข I (ประกาศใช้เมื่อ 1975-07-01)
CITES ไทย
- บัญชีหมายเลข I
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |