ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- เม่นเป็นสัตว์ฟันแทะเช่นเดียวกับหนู ความยาวตั้งแต่จมูกถึงโคนหาง ๖๓-๗๐ เซนติเมตร หนัก ๓-๗ กิโลกรัม สิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ก็คือ มีหนามแหลมแข็งขึ้นบริเวณหลัง หนามของเม่นมีลักษณะกลวง โคนและปลายหนามสีขาว ตรงกลางสีดำ จมูกป้าน ไม่แหลมอย่างหนู หนวดยาวสีดำ ขนใต้คอสีขาว บริเวณหัวและส่วนด้านหน้าปกคลุมด้วยขนสั้นสีน้ำตาล
- เป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ กลุ่มเดียวกับหนู กระรอก เป็นสัตว์ฟันแทะที่มีขนาดร่างกายใหญ่ หนาและเตี้ย รูปร่างของหัวส่วนหน้าและจมูกค่อนข้างยาว ขนที่ส่วนใบหน้า ใต้คอและใต้ท้องเป็นขนอ่อนหยาบสีน้ำตาล ขนด้านข้างลำคอ สันคอไปจนถึงตอนบนของหลังเป็นขนหยาบยาวสีดำเข้มเกือบดำ ขนหนามแข็งขนาดใหญ่ที่ใช้ป้องกันตัว ซึ่งจะขึ้นห่างๆ กัน ตั้งแต่กลางหลังไปถึงปลายหาง ยาวตั้งแต่ 5 30 เซนติเมตร เป็นขนยาวมีสีขาวและมีวงรอบขนสีดำอยู่กลางขน ภายในกลวงเมื่อเม่นแกว่งหางจะเกิดเสียงดัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสาลีก, ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว
- ป่าทุกประเภท ตั้งแต่พื้นที่ราบต่ำถึงบนเขาที่ความสูง 1,500 เมตรจากระดับน้ำทะเล อาศัยตามโพรงดิน ซอกหินตามป่า
พบใน ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สุมาตรา บอร์เนียว พบในป่าทุกชนิด
- Chiang Mai (Doi Inthanon, Doi Suthep); Tak (Thung Yai);
Nakhon Ratchasima (Khao Yai); Chaiyaphum (Phu Khieo);
Kanchanaburi (Salak Phra); Phetchaburi (Kaeng Krachan);
Ranong (Khlong Naka); Phangnga (Khao Sok); Trang
(Khao Chong); Phattalung (Khao Pu-Khao Ya).
- ป่าภูหลวง
- ผาแต้ม
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
สถานที่ชม :
- สวนสัตว์เปิดเขาเขียว,สวนสัตว์เชียงใหม่,สวนสัตว์นครราชสีมา,สวนสัตว์ขอนแก่น,สวนสัตว์สงขลา,สวนสัตว์อุบลราชธานี
การกระจายพันธุ์ :
- ทั่วประเทศ
ระบบนิเวศ :
- Evergreen forest to deciduous forest.
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เชียงใหม่,ตาก,นคราชสีมา,ชัยภูมิ,กาญจนบุรี,เพชรบุรี,ระนอง,พังงา,ตรัง,พัทลุง
- ทั่วประเทศ
- เลย
- อุบลราชธานี
- พะเยา
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- ตราด
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- อุตรดิตถ์
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- จันทบุรี
- พิษณุโลก
- บุรีรัมย์
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร, ประดับบ้าน, อาวุธ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM -
NSM Prachuap khiri khan
NSM Ranong
NSM Kanchanaburi
NSM -
NSM -
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ