ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
ลุ่มน้ำปิง, ทะเลสาบดอยเต่า แม่น้ำปิง แม่น้ำปิงตอนล่าง
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่, ยะลา, พิษณุโลก, นครพนม, เชียงใหม่, นนทบุรี, พระนครศรีอยุธยา, จันทบุรี, ชัยนาท, นครสวรรค์, ขอนแก่น, อุบลราชธานี, สุราษฎร์ธานี, กาญจนบุรี, นครราชสีมา, สงขลา, ปราจีนบุรี, นราธิวาส
-
พรุโต๊ะแดง, พรุในภาคตะวันออก
-
เชียงใหม่,ตาก,กำแพงเพชร
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย, ลำเซบายตอนกลาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
รูปร่างค่อนข้างป้อมส่วนหัวเล็ก ด้านหลังยกสูง ครีบหลังค่อนข้างยาว ครีบอื่นๆ มีขนาดเล็กครีบหางเว้าลึก เกล็ดใหญ่ตาเล็ก ปากเล็กอยู่ด้านปลายสุดของหัว ริมฝีปากมีขายครุยรอบๆ มีหนวดสั้น 2 คู่ ตัวและหัวมีสีคล้ำ ตอนบนมีสีเงินอมเทาหรือน้ำตาลอ่อน ตาสีแดงเรื่อมีแต้มสีแดงหรือสัม ที่เหนือครีบอกหลายแต้มและมีแถบตามยาวลำตัว 5-6 แถบ ไปถึงโคนหาง ที่โคนหางมีแต้มกลมสีคล้ำ ครีบสีคล้ำ
อมแดงหรือเหลือง ด้านท้องสีจาง ปลาที่มาจากบริเวณน้ำใสจะมีสีเข้มกว่าที่มาจากบริเวณน้ำขุ่น ขนาดใหญ่ที่สุด 30 เซนติเมตร พบทั่วไป 15-20 เซนติเมตร
อมแดงหรือเหลือง ด้านท้องสีจาง ปลาที่มาจากบริเวณน้ำใสจะมีสีเข้มกว่าที่มาจากบริเวณน้ำขุ่น ขนาดใหญ่ที่สุด 30 เซนติเมตร พบทั่วไป 15-20 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในแหล่งน้ำทุกประเภท ทั่วทุกภาคของไทย จนถึงมาเลเซีย บอร์เนียว และอินโดนีเซีย
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 4 Checklist of FISHES IN THAILAND, 2540
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 12 Peat Swamp Fishes of Thailand, 2545
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช