ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (19 ซม.) ตัวเต็มวัยมีสีดำและสีขาว มีลายพาดขนาดใหญ่สีขาวที่ขนคลุมขนปีก หน้าผาก และด้านข้างของหัวสีขาว อาจจะมีหรือไม่มีแถบคาดตาสีดำ ด้านบนลำตัวจะมีตั้งแต่สีดำทั้งหมด สีเทาผสมดำ จนกระทั่งสีเทาทั้งหมด ด้านล่างลำตัวสีขาว มีสีดำเป็นรูปพระจันทร์ครึ่งซีกเฉพาะที่อก จนกระทั่งขยายเต็มไปทั้งคอหอยและอก
- ขนลำตัวสีขาวสลับดำเด่นชัด ที่พบในพื้นที่คือชนิดย่อย eucopsis ลำตัวด้านล่างขาว กระหม่อม ท้ายทอย ลำตัวด้าน
บนและแถบอกสีดำ ขนคลุมปีกด้านบนและขอบขนโคนปีกสีขาว ขอบหางสีขาว ฤดูผสมพันธุ์แถบสีดำที่อกใหญ่ขึ้น ขอบต่อเนื่องกับสีดำข้างอก นกเพศเมียคล้ายตัวผู้ แต่ลำตัวด้านบนมีสีเทา
- มีขนาดประมาณ 17-18 เซนติเมตร ตัวผู้ ลำตัวด้านล่างขาวกระหม่อม ท้ายทอย ลำตัวด้านบน และแถบอกดำ ขนคลุมปีกด้านบนและขอบขนโคนปีกขาวขอบหางขาว ฤดูผสมพันธุ์แถบดำที่อกใหญ่ขึ้น ขอบต่อเนื่องกับสีดำข้างอก ตัวเมีย คล้ายตัวผู้แต่ลำตัวด้านบนเทา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ขนลำตัวขาวสลับดำเด่นชัด หลังสีดำหรือเทา
ระบบนิเวศ :
- พื้นที่เปิดโล่งต่าง ๆ โดยเฉพาะพื้นที่ชุ่มน้ำ ที่ราบถึงความสูง 2,000 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามทุ่งโล่ง ทุ่งหญ้า ทุ่งนา และบริเวณที่ใกล้ๆ กับแหล่งน้ำต่างๆ ส่วนใหญ่หากินตามพื้นดิน ด้วยการวิ่งไล่จิกแมลงต่างๆ ซึ่งเป็นอาหารส่วนใหญ่ บางครั้งก็บินขึ้นจิกแมลงกลางอากาศใกล้ๆ กับพื้นดิน ขณะที่เกาะตามปรกติ ทางจะกระดกขึ้นลงเป็นจังหวะ
- พื้นที่เปิดโล่งต่างๆ โดยเฉพาะพื้นที่ชุ่มน้ำ
- ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
- ระบบนิเวศเกาะ
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่
- พังงา
- มุกดาหาร
- พะเยา
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- พะเยา
- พิษณุโลก
- สมุทรปราการ
- กรุงเทพมหานคร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
- ภูผาเทิบ
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ช่วยในการกระจายพันธุ์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Nakhon ratchasima
NSM Mae hong son
NSM Mae hong son
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Tak
NSM -
NSM Phrae
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Suphan buri
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Ubon ratchathani
NSM Ubon ratchathani
NSM Ubon ratchathani
NSM Ubon ratchathani
NSM Ubon ratchathani
NSM Ubon ratchathani
NSM Ubon ratchathani
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ