ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดกลาง (53 ซม.) ปากหนาและโค้งเล็กน้อย คอสั้น ปีกยาวแหลม สีของลำตัวทั้งด้านบน และด้านล่างสีดำเหลือบน้ำเงิน ปีกและลำตัวตอนท้ายสีน้ำตาลแดง ตาสีแดง ปากและนิ้วสีดำ
- ใหญ่กว่าชนิดอื่น หัว คอ ลำตัวด้านล่างและหางดำเหลือบม่วง หลังและปีกสีน้ำตาลแดง นกตัวไม่เต็มวัยบริเวณ หลังและปีกมีลายขวางสีเข้ม หัวและลำตัวมีจุดขาว
- มีขนาดประมาณ 53 เซนติเมตร ขนาดใหญ่กว่าชนิดอื่น หัว คอ ลำตัวด้านล่าง และหางดำเหลือบม่วง หลังและปีกสีน้ำตาลแดง นกวัยอ่อน หลังและปีกมีลายขวางสีเข้ม หัวและลำตัวมีจุดขาว
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- นกขนาดใหญ่กว่านกกะปูดชนิดอื่น หัว คอ ลำตัวด้านล่าง และหางดำเหลือบม่วง หลังและปีกสีน้ำตาลแดง นกวัยอ่อน : หลังและปีกมีลายขวางสีเข้ม หัวและลำตัวมีจุดสีขาว
ระบบนิเวศ :
- ทุ่งนา ทุ่งหญ้า ป่าโปร่ง สวนผลไม้ ที่ราบถึงความสูง 1,525 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามชายป่า และทุ่งโล่ง ร้องเสียงดัง ปูด ปูด ปูด เป็นจังหวะ อาหารได้แก่
พวกสัตว์เล็กๆ ทั้งสัตว์เลื้อยคลาน กบ เขียด แม้กระทั่งนกเล็กๆ รวมทั้งหนอน และแมลงต่างๆ ด้วย
- ทุ่งนา ทุ่งหญ้า ป่าโปร่ง สวนผลไม้
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่
- มุกดาหาร
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- ตราด
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- เชียงใหม่
- จันทบุรี
- พิษณุโลก
- บุรีรัมย์
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- ภูผาเทิบ
- ป่าหนองแปน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขากระยาง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสาลีก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าประดางและป่าวังก์เจ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสวนกวาง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่ากุดจับ, ป่าคำหัวแฮด, ป่าเขาผาลาด, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน), ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเทือกเขาแม่นางขาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้), ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย, ป่าสงวนแห่งชาติป่านาซาวฝั่งซ้ายถนนแพร่-น่าน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเลนคลองปะเหลียนและป่าคลองท่าบ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าควนออกบ้านน้ำตก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร, ป่าสงวนแห่งชาติป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม , ป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองกาโหรดและป่าคลองหิน
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ทำรังตามป่าหญ้า ป่าละเมาะ หรือก่อไผ่ โดยใช้ใบไม้และหญ้าแห้งมาม้วนเข้าด้วยกันเป็นรูปทรงกลมไข่สีขาว แต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ระยะเวลาฟักประมาณ 21-23 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ส่วนประกอบพิธีกรรมและความเชื่อ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Nakhon ratchasima
NSM Nakhon ratchasima
NSM Lop buri
NSM Prachuap khiri khan
NSM Prachuap khiri khan
NSM Prachuap khiri khan
NSM Phatthalung
NSM Mae hong son
NSM Ranong
NSM Ranong
NSM Nakhon ratchasima
NSM Nakhon ratchasima
NSM -
NSM -
NSM Phetchaburi
NSM -
NSM Phrae
NSM Nan
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chanthaburi
NSM Chiang rai
NSM Surat thani
NSM Trat
NSM Kanchanaburi
NSM Chanthaburi
NSM Chanthaburi
NSM Chanthaburi
NSM Mae hong son
NSM Mae hong son
NSM Phangnga
NSM Ranong
NSM Phangnga
NSM -
NSM Phetchabun
NSM -
NSM Phetchabun
NSM -
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ