ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
- freshwater marshes, rice paddies.
- อาศัยและหากินตามป่ากก และป่าหญ้าที่ขึ้นในน้ำ และชายน้ำทั่วๆ ไป เช่น บึง หนอง อ่างเก็บน้ำ และทะเลสาบ และพบมากในนาข้าวช่วงฤดูเก็บเกี่ยว อาหารได้แก่ เมล็ดพืช รวมทั้งสัตว์น้ำเล็กๆ
- พืชชายน้ำ/กอบัว/แพพืชหนังหมา/บริเวณน้ำตื้น นกประจำถิ่น/นกอพยพในฤดูผสมพันธุ์
การกระจายพันธุ์ :
- Sundaic
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- Uncommon resident and breeding visitor throughout, very
much reduced by hunting pressure.
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดเล็กถึงกลาง (42-43 ซม.) ช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน โดยปาก ขาและนิ้วสีออกเขียวลำตัวเป็นสีน้ำตาลเหลือง มีลายขีดขนาดกว้าง
สีน้ำตาลเข้มทางด้านบน ส่วนทางด้านล่าง ลำตัวมีลายพาดขนาดแคบสีน้ำตาลเข้มเช่นเดียวกัน ในฤดูผสมพันธุ์ ตัวผู้ป่ากสีแดงตอนปลายสีเหลืองโคนปากต่อหน้าผากจะมีกะบังหน้าสีแดงจรดขึ้นไปเหนือหน้าผาก ขาสีแดง ลำตัวเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลดำ ขนหางด้านล่างสีน้ำตาลเหลือง
- ขนาดประมาณ 42-43 เซนติเมตร ปากเรียวแหลมและยาวปานกลาง คอยาวปานกลาง ปีกสั้นและปลาย
ปีกกลม ในช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ ทั้ง 2 เพศมีลักษณะเหมือนกัน โดยปาก ขา และนิ้วสีออกเขียว สีของลำตัวเป็นสีน้ำตาลเหลือง มีลายขีดขนาดกว้างสีน้ำตาลเข้มทางด้านบน ส่วนทางด้านล่างลำตัวมีลายขวางขนาดแคบสีน้ำตาลเข้มเช่นเดียวกัน ในฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้สีสันจะเปลี่ยนไปส่วนตัวเมียสีสันต่างๆยังคงเหมือนเดิม ตัวผู้ปากสีแดง ตอนปลายเป็นสีเหลือง บริเวณโคนปากต่อหน้าผากจะมีกระบังหน้าสีแดงเจริญขึ้นไปเหนือหน้าผาก ขาสีแดง สีของลำตัวจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลดำ ขนคลุมโคนขนหางด้านล่างเป็นสีน้ำตาลเหลือง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
- พะเยา
- จันทบุรี
- กระบี่
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมิถุนายน-ตุลาคม โดยทำรังตามกอพืชที่อยู่ในน้ำหรือชายน้ำ เป็นรังแบบง่ายๆ สร้างด้วยการใช้ก้านพืชต่างๆ มาวางซ้อนทับกัน ทำตรงกลางให้เป็นแอ่ง ไข่มีสีพื้นเป็นสีขาวหรือสีครีม มีลายจุดสีน้ำตาลแดง แต่ละรังมีไข่ 3-6 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 22-25 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Pathum thani
NSM Pathum thani
NSM -
NSM Pathum thani
NSM Kanchanaburi
NSM Kuala lumpur
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM Satun
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ