ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
55-60 cm. resident race M. m. gonvinda, yellowish cere and legs, dark
brown plumage with shallow-forked tail. Distinguished from wintering
race M. m. lineatus by large and bluish grey cere, greyish legs.
brown plumage with shallow-forked tail. Distinguished from wintering
race M. m. lineatus by large and bluish grey cere, greyish legs.
-
นกขนาดกลางถึงใหญ่ (61-66 ซม.) หัวค่อนข้างใหญ่ คอสั้น ปีกยาว หางยาว ปานกลาง ปลายหางเว้าดื้น สีสันของร่างกายทั่วๆ ไปเป็นสีน้ำตาลดำ บริเวณหัวและปลายปีกมักจะจางกว่าบริเวณอื่นๆ
ระบบนิเวศ :
-
Open country, cultivated areas, marshes.
-
พบในที่โล่งแจ้งหรือแหล่งน้ำ เวลาพักกลางคืนจะพักนอนรวมกันหลายๆ ตัวตามต้นไม้ใหญ่ อาหารได้แก่ ชากสัตว์ต่างๆ บางครั้งก็ล่าสัตว์เล็กๆ จำพวกนกเล็กๆ ลูกไก่ หนูนา หรือสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก เป็นอาหารด้วย
-
ทุ่งหญ้า/ทุ่งนา/หญ้าสูง/ไม้พุ่มริมน้ำ นกประจำถิ่น
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบุรี,พระนครศรีอยุธยา
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
เชียงใหม่
-
อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
-
น่าน
-
กรุงเทพมหานคร
-
ลำพูน
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Resident race M. m. gonvida now very much reduced; on the verge on
extinction in Thailand. Recent breeder records are from Prachinburi (Khot
Chasan Munee Temple) and Ayutthaya (Bang Barn).
extinction in Thailand. Recent breeder records are from Prachinburi (Khot
Chasan Munee Temple) and Ayutthaya (Bang Barn).
-
ลุ่มน้ำปิง, ทะเลสาบดอยเต่า
-
ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนตุลาคม-เมษายน รังสร้างแบบง่ายๆ บนยอดไม้สูง ด้วยการนำกิ่งไม้ต่างๆ มาวางซ้อนทับกัน ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 2-4 ฟอง ใช้เวลาฟัก 29-32 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อื่นๆ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
ONEP Biodiversity Series Vol. 15 : Thailand Red Data : Birds
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
-
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมป่าไม้
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ข้อมูลสภานภาพ CITES
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2013-06-12)
CITES ไทย
- บัญชีหมายเลข II
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |