ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดใหญ่ (81 ซม.) ปากยาวและใหญ่ บริเวณใกล้ๆ กับปลายขากรรไกรล่างจะเว้า ทำให้ขากรรไกรทั้งสองเมื่อมาประกบกัน
แล้วเกิดช่องว่าง เห็นได้ชัดเจนในนกตัวเต็มวัยแม้จะหุบปากก็ตาม คอค่อนข้างยาว ในฤดูผสมพันธุ์สีตามลำตัวทั้งด้านบนและด้านล่างมีสีขาว ขนปลายปีก หาง และตะโพกสีดำ ช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์สีตามลำตัวเป็นสีเทาอ่อน
- มีขนาดประมาณ 68-81 เซนติเมตร ปากสีน้ำตาลแกมเหลือง กลางปากค่อนไปทางปลายเปิดเป็นช่องว่าง ขนลำตัวเทา ขนโคนปีก ขนปีกบิน และหางดำ แข้งและตีนชมพูคล้ำ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ปากสำน้ำตาลแกมเหลือง กลางปากค่อนข้างไปทางปลายเปิดเป็นช่องว่าง ขนลำตัวเทา ขนโคนปีก ขนปีกบิน และหางดำ แข้งและตีนชมพูคล้ำ ขนชุดผสมพันธุ์ : ขนลำตัวขาวมากขึ้น แข้งและตีนแดง
ระบบนิเวศ :
- ทุ่งนา หนอง บึง พื้นที่ลุ่มน้ำและแหล่งน้ำจืดต่าง ๆ ในที่ราบอาจพบได้ถึงความสูง 700 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง มีการรวมกลุ่มทำรังเป็นจำนวนมาก
- พบตามทุ่งนาและแหล่งน้ำต่างๆ มักพบอยู่รวมกันเป็นฝูง อาหารได้แก่ หอยโข่งและหอยเขอรี่ รวมทั้งสัตว์น้ำต่างๆ เท่าที่จะหาได้ ปกติหาอาหารด้วยการเดินลุยไปตามขายน้ำซึ่งไม่ลึกมากนัก อาหารที่เป็นหอยโข่งจะใช้ปากงับฝาหอยออกแล้วจิกกินเฉพาะเนื้อหอย โดยไม่ทำให้เปลือกหอยแตกแต่อย่างใด ถ้าเป็นสัตว์อื่นๆ นกจะใช้ปากคาบแล้วกลืนกินทันที
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- นนทบุรี
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- ตราด
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- พะเยา
- พิษณุโลก
- บุรีรัมย์
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนพฤศจิกายน-เมษายน ทำรังบนต้นไม้สูงเป็นรังแบบง่ายๆ ใช้กิ่งไม้มาวางซ้อนทับกัน ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 2-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 27-29 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่เกษตรกรรม
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร, ป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองกาโหรดและป่าคลองหิน
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Pathum thani
NSM Pathum thani
NSM Nakhon nayok
NSM Nakhon nayok
NSM Nakhon nayok
NSM Nakhon nayok
NSM Nakhon nayok
NSM -
NSM Pathum thani
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ