ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดกลางถึงใหญ่ (61 ช.ม.) ขนคลุมลำตัวเป็นสีขาวทั้งตัว ปากและขาเป็นสีดำขณะที่ตีนเป็นสีเหลือง เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์
จะมีหงอนขนลักษณะคล้ายเปียสองเส้น ตัวที่ไม่เต็มวัยสีของปาก ขา และตีนออกเป็นสีเทาแกมเขียว
- มีขนาดประมาณ 55-65 เซนติเมตร ปากดำ หนังหน้าเทาหรือเขียวแกมเหลือง ขาดำ ตีนเหลือง ท้ายทอยมีขนเปียยาว 2 เส้น หน้าอกและหลังมีขนเจ้าชู้ยาวเด่น ขาดำ ตีนเหลืองส้มหรือบางตัวอาจเป็นสีแดง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ปากดำ หนังหน้าเทาหรือเขียวแกมเหลือง ขาดำ ตีนเหลือง ขนชุดผสมพันธุ์ : หนังหน้าชมพูแกมแดง ท้ายทอยมีขนเปียยาว 2 เส้น หน้าอกและหยังมีขนเจ้าชู้ยาวเด่นชัด ขาดำสนิท ตีนเหลืองส้มหนือบางตัวอาจเป็นสีแดง นกวัยอ่อน : ขาเทาเข้ม โคนปากและหน้าเทา
ระบบนิเวศ :
- ทุ่งนาและพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม
- ปกติพบตามชายแหล่งน้ำจืดต่างๆ แต่ก็อาจพบได้ในนาเกลือ หรือใกล้ๆ กับทะเล มักจะหากินรวมกันเป็นกลุ่ม หรือฝูง แต่บางครั้งก็หากินโดดเดี่ยว อาหารได้แก่ ปลาต่างๆ นอกจากนี้ยังกินสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และแมลงต่างๆ
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,กำแพงเพชร
- นนทบุรี
- พะเยา
- น่าน
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- พิษณุโลก
- บุรีรัมย์
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำแม่แจ่ม คลองสวนหมาก
- พื้นที่เกษตรกรรม
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน), ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเทือกเขาแม่นางขาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้), ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเลนคลองปะเหลียนและป่าคลองท่าบ้า, เกาะทะลุ, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร, ป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองกาโหรดและป่าคลองหิน
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม สร้างรังโดยใช้กิ่งไม้เล็กขัดสานกันเป็นรูปจานแบนๆ บริเวณง่ามต้นไม้ หรือกอไผ่ ไข่สีเขียวอมฟ้า ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ใช้เวลาฟักไข่ 25-27 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Nakhon pathom
NSM Prachuap khiri khan
NSM Pathum thani
NSM Samut prakan
NSM Samut prakan
NSM Mae hong son
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Prachuap khiri khan
NSM Pathum thani
NSM Chiang rai
NSM Samut prakan
NSM Songkhla
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ