ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
การกระจายพันธุ์ :
- ทั่วประเทศ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ทั่วประเทศ
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
- เชียงใหม่
- เลย
- เชียงใหม่
- มุกดาหาร
- พะเยา
- น่าน
- น่าน
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- กระบี่
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์
ระบบนิเวศ :
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ป่าภูหลวง
- พื้นที่เกษตรกรรม ดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- ภูผาเทิบ
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
- อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- พื้นที่สงวนชีวมณฑลสะแกราช
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ตัวโตกว่ากระรอกเล็กน้อย ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียมาก ขนสีน้ำตาลแดง ปลายจมูกแหลม หูสั้นกว่าลำตัว เมื่อตกใจหรือจะต่อสู้ ขนตามลำตัวตั้งชันขึ้นมาได้ การกระจายมีถิ่นอาศัยอยู่ใน อิหร่าน อินเดีย อินโดจีน ไทย มาเลเซีย และชวา อาหาร ชอบกินเนื้อสัตว์เล็กต่างโดยเฉพาะอย่างยิ่ง งู และหนู รวมทั้ง กบ เขียด ปู เป็ด ไก่ นก แมลง และผลไม้ พฤติกรรม เป็นสัตว์หากินทั้งกลางวันและกลางคืน นอนในโพรงดิน ไม่ชอบไต่ขึ้นต้นไม้ ชอบป่าหญ้าหรือตามป่าโปร่งมากกว่าป่าทึบ เป็นสัตว์ที่ว่องไวมาก การสืบพันธุ์ พังพอนเริ่มผสมพันธุ์ ได้เมื่อมีอายุ 2 ปี ระยะตั้งท้องนาน 6 สัปดาห์ ออกลูกครั้งละ 2-4 ตัว มีอายุยืนประมาณ 12 ปี
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร
- เป็นอาหาร คนอีสานนำจอนฟอนมาเป็นอาหารโดยการหมกใส่หยวก (หยวกกล้วย) และอ่อม
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
ข้อมูลสภานภาพ CITES

CITES โลก

- บัญชีหมายเลข III (ประกาศใช้เมื่อ 2014-06-24)

CITES ไทย

- บัญชีหมายเลข III

พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ