ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ต้นปีบทอง หรือ ต้นกาซะลองคำ มีเขตการกระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่ในประเทศจีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ส่วนในประเทศไทยพบได้ตั้งแต่ทางภาคใต้ในแถบจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพชรบุรี อุทัยธานี ขึ้นไปถึงทางภาคเหนือของประเทศ จัดเป็นไม้ยืนต้นเล็กถึงขนาดกลาง และเป็นไม้ผลัดใบแต่จะผลัดไม่พร้อมกัน มีความสูงของต้นประมาณ 6-20 เมตร ต้นมีเรือนยอดเป็นรูปใบหอกหรือไข่ ทรงพุ่มแน่นทึบ กิ่งก้านแผ่ออกเป็นชั้น ๆ ออกกว้าง ลำต้นมีลักษณะเปลาตรง ตามกิ่งก้านและตามลำต้นจะมีรูระบายอากาศกระจายอยู่ทั่วไป เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อน แตกเป็นลายประสานกันคล้ายตาข่าย เปลือกต้นขรุขระเป็นเม็ดเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วไป
- ต้นปีบทอง หรือ ต้นกาซะลองคำ มีเขตการกระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่ในประเทศจีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ส่วนในประเทศไทยพบได้ตั้งแต่ทางภาคใต้ในแถบจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพชรบุรี อุทัยธานี ขึ้นไปถึงทางภาคเหนือของประเทศ จัดเป็นไม้ยืนต้นเล็กถึงขนาดกลาง และเป็นไม้ผลัดใบแต่จะผลัดไม่พร้อมกัน มีความสูงของต้นประมาณ 6-20 เมตร ต้นมีเรือนยอดเป็นรูปใบหอกหรือไข่ ทรงพุ่มแน่นทึบ กิ่งก้านแผ่ออกเป็นชั้น ๆ ออกกว้าง ลำต้นมีลักษณะเปลาตรง ตามกิ่งก้านและตามลำต้นจะมีรูระบายอากาศกระจายอยู่ทั่วไป เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อน แตกเป็นลายประสานกันคล้ายตาข่าย เปลือกต้นขรุขระเป็นเม็ดเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วไป
- ต้นปีบทอง หรือ ต้นกาซะลองคำ มีเขตการกระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่ในประเทศจีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ส่วนในประเทศไทยพบได้ตั้งแต่ทางภาคใต้ในแถบจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพชรบุรี อุทัยธานี ขึ้นไปถึงทางภาคเหนือของประเทศ จัดเป็นไม้ยืนต้นเล็กถึงขนาดกลาง และเป็นไม้ผลัดใบแต่จะผลัดไม่พร้อมกัน มีความสูงของต้นประมาณ 6-20 เมตร ต้นมีเรือนยอดเป็นรูปใบหอกหรือไข่ ทรงพุ่มแน่นทึบ กิ่งก้านแผ่ออกเป็นชั้น ๆ ออกกว้าง ลำต้นมีลักษณะเปลาตรง ตามกิ่งก้านและตามลำต้นจะมีรูระบายอากาศกระจายอยู่ทั่วไป เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อน แตกเป็นลายประสานกันคล้ายตาข่าย เปลือกต้นขรุขระเป็นเม็ดเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วไป
- ต้นปีบทอง หรือ ต้นกาซะลองคำ มีเขตการกระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่ในประเทศจีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ส่วนในประเทศไทยพบได้ตั้งแต่ทางภาคใต้ในแถบจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพชรบุรี อุทัยธานี ขึ้นไปถึงทางภาคเหนือของประเทศ จัดเป็นไม้ยืนต้นเล็กถึงขนาดกลาง และเป็นไม้ผลัดใบแต่จะผลัดไม่พร้อมกัน มีความสูงของต้นประมาณ 6-20 เมตร ต้นมีเรือนยอดเป็นรูปใบหอกหรือไข่ ทรงพุ่มแน่นทึบ กิ่งก้านแผ่ออกเป็นชั้น ๆ ออกกว้าง ลำต้นมีลักษณะเปลาตรง ตามกิ่งก้านและตามลำต้นจะมีรูระบายอากาศกระจายอยู่ทั่วไป เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อน แตกเป็นลายประสานกันคล้ายตาข่าย เปลือกต้นขรุขระเป็นเม็ดเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วไป
การขยายพันธุ์ :
- 1. การปักชำ
2. การเพาะเมล็ด
- 1. การปักชำ
2. การเพาะเมล็ด
- 1. การปักชำ
2. การเพาะเมล็ด
- 1. การปักชำ
2. การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ลำปาง
- ลำปาง, ตาก
- จันทบุรี
- พิษณุโลก
- เลย, เพชรบูรณ์
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- เชียงใหม่
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย