ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดเล็กมาก (13 ซม.) หัวสีเทาลำตัวด้านบนสีเขียวแกมเหลือง ท้องสีเหลือง คอหอยและอกสีขาว - สีครีม คิ้วและวงรอบเบ้าตาสีขาว ตัวไม่เต็มวัยบนลำตัวมีลายแต้มสีน้ำตาล ด้านล่างลำตัวและคิ้วสีเหลืองอ่อน ปลายขนหางสีขาว
ระบบนิเวศ :
- พบตามป่าหญ้าป่าละเมาะ บริเวณชายแหล่งน้ำต่างๆ รวมทั้งขอบหรือริมป่าชายเลน อาศัยและหากินภายในพุ่มหญ้า กอกก กออ้อหรือพุ่มไม้ต่างๆ อาหารได้แก่ แมลงวันและตัวหนอนต่างๆ
- ทุ่งหญ้า/ทุ่งนา/หญ้าสูง/ไม้พุ่มริมน้ำ นกประจำถิ่น
- ระบบนิเวศภูเขา
- สวนยาง ทุ่งหญ้า ชายป่า ป่ายางแดง นาข้าว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
- เลย
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน ทำรังด้วยใบหญ้า ใบไม้เชื่อมหรือเย็บติดกันด้วยใยแมงมุม รองพื้นด้วยดอกหญ้าหรือหญ้าที่ฉีกเป็นขึ้น ละเอียดเป็นรูปเกือบทรงกลม ตามพุ่มกอหญ้าหรือพุ่มไม้ ไข่สีน้ำตาลแดง ในแต่ละรังมีไข่ 4 ฟอง ใช้ระยะเวลาฟักไข่ 12 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าภูหลวง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ