ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็กมาก (12 ซม.) หน้าผากสีน้ำตาลแดง บริเวณหัวตาและคิ้วสีเนื้อ ลำตัวด้านบนสีเขียว - เขียวแกมเหลือง ด้านล่างลำตัวสีเนื้ออ่อน บริเวณอกและคอหอยมีขนสีเข้ม ทำให้ดูคล้ายกับมีลายสีเทาพาดบริเวณดังกล่าว
- หน้าผากและกระหม่อมสีน้ำตาลแดง คิ้วและหน้าสีขาวแกมเทา ลำตัวด้านบนมีสีเขียวคล้ำ ลำตัวด้านล่างขาว บางครั้ง
ใต้คอเห็นเป็นสีดำโดยเฉพาะขณะร้อง คล้ายนกกระจิบคอดำแต่บริเวณก้นเป็นสีขาวเพศผู้ขนชุดฤดูผสมพันธุ์หางคู่กลางยาวมากและปลายแหลม
- มีขนาดประมาณ 11-13 เซนติเมตร หน้าผากและกระหม่อมสีน้ำตาลแดง ลำตัวด้านบนสีเขียวมะกอก ลำตัวด้านล่างสีขาวถึงขาวอมเหลืองอ่อน มีคิ้วสีขาว ตัวผู้ขนหางกลางยาวยื่นออกมาเด่นชัด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- หน้าผากและกระหม่อมน้ำตาลแดง คิวและหน้าขาวแกมเทา ลำตัวด้านบนเขียวคล้ำ ลำตัวด้านล่างขาว บางครั้งใต้คอเห็นเป็นสีดำโดยเฉพาะขณะร้อง คล้ายนกกระจิบคอดำ แต่ก้นและขนคลุมใต้โคนหางขาว ตัวผู้ขนชุดผสมพันธุ์ : หางคู่กลางยาวมากและปลายแหลม
ระบบนิเวศ :
- ชายป่า ป่าละเมาะ สวนผลไม้ สวนสาธารณะใกล้ชุมชน ที่ราบถึงสูง 1,525 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามป่าโปร่ง ป่ารุ่น ป่าขายเลน ทุ่งหญ้า ป่าละเมาะ และสวนผลไม้ มักพบเกาะและกระโดดไปตามกิ่งก้านภายในเรือนยอดของต้นไม้ หรือไม้พุ่ม ขณะที่เกาะหางมักจะตั้งขึ้นในแนวเกือบตั้งฉากกับลำตัว อาหารได้แก่ แมลงและตัวหนอนต่างๆ
- ชายป่า ป่าละเมาะ สวนผลไม้ สวนสาธารณะใกล้ชุมชน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เลย
- นนทบุรี
- มุกดาหาร
- พะเยา
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- ฉะเชิงเทรา
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- ตราด
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- เชียงใหม่
- จันทบุรี
- พิษณุโลก
- บุรีรัมย์
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ทำรังตามต้นไม้ ด้วยการโน้มใบพีช 2-3 ใบที่อยู่ใกล้กันมารวมกัน ใข้ใยแมงมุมเย็บหรือเขื่อมขอบใบพืชให้ติดกันทำรังเป็นรูปกะเปราะ มีทางเข้าออกอยู่ทางด้านบน ไข่สีขาว มีลายจุดสีน้ำตาลแดง แต่ละรังมีไข่ 3 - 4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 11 - 13 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าภูหลวง
- พื้นที่เกษตรกรรม
- ภูผาเทิบ
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงภู, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย, ป่าหนองแปน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขากระยาง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสาลีก, ป่าสงวนแห่งชาติป่ากุดจับ, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงมะอี่, ป่าคำหัวแฮด, ป่าสงวนแห่งชาติป่าประดางและป่าวังก์เจ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสวนกวาง, ป่าเขาผาลาด, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน), ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเทือกเขาแม่นางขาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้), ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย, ป่าสงวนแห่งชาติป่านาซาวฝั่งซ้ายถนนแพร่-น่าน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเลนคลองปะเหลียนและป่าคลองท่าบ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าควนออกบ้านน้ำตก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร, ป่าสงวนแห่งชาติป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Nakhon ratchasima
NSM Saraburi
NSM Bangkok
NSM -
NSM Bangkok
NSM -
NSM Bangkok
NSM Bangkok
NSM Nakhon ratchasima
NSM Trang
NSM Loei
NSM Nakhon ratchasima
NSM Nan
NSM Kanchanaburi
NSM Samut prakan
NSM Samut prakan
NSM Samut prakan
NSM Bangkok
NSM Phrae
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang rai
NSM Chon buri
NSM Nakhon ratchasima
NSM Chiang mai
NSM Pathum thani
NSM Pathum thani
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Kanchanaburi
NSM Chanthaburi
NSM Chaiyaphum
NSM Chiang rai
NSM Pattani
NSM Pattani
NSM Ranong
NSM Chiang mai
NSM Pattani
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ