ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็กมาก (13 ซม.) ตัวเต็มวัยด้านบนลำตัวสีเทา จนถึงน้ำตาลเทา วงรอบเบ้าตาสีขาว ไม่มีลายพาดและลายขีดใดๆ
ที่ปีก ด้านล่างลำตัวสีออกขาว อกและสีข้างสีเทาแกมน้ำตาล ตรงกลางอกมักจะมีสีออกขาว ปากสีดำ ขากรรไกรล่างเป็นลักษณะคล้ายแท่งเนื้อ ตอนโคนเป็นสีเหลือง นิ้สีออกดำ
- ปากยาวกว่านกจับแมลงสีคล้ำ โคนปากล่างเหลืองหรือสีเนื้อ ปลายดำ หัวตาและวงตาขาวใหญ่ หัวและลำตัวด้านบนสี
น้ำตาล-เทาแกมน้ำตาล ปีกมีแถบขาวเล็กๆ คอและลำตัวด้านล่างขาวแกมเทา อกมีลายขีดเล็กๆหรือเรียบไม่มีลาย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ปากยาวกว่านกจับแมลงสีคล้ำ โคนปากล่างเหลืองหรือสีเนื้อปลายดำ หัวตาและวงตาขาวใหญ่ หัวและลำตัวด้านบนสีน้ำตาลถึงเทาแกมน้ำตาล ปีกมีแถบขาวแคบ ๆ แต่เห็นชัดโดยเฉพาะขอบโคนปีก คอและลำตัวด้านล่างขาวแกมเทา อกมีลายขีดเล็ก ๆ คล้ายกับนกจับแมลงสีน้ำตาลท้องลาย หรือเรียบไม่มีลาย
ระบบนิเวศ :
- ป่าโปร่ง สวนผลไม้ และสวนสาธารณะ
- พบในป่าโปร่ง ชายป่า ทุ่งโล่ง สวนผลไม้ และป่าขายเลน มักเกาะตามกิ่งล่างของต้นไม้หรือกิ่งแห้ง ตาคอยจ้องหาเหยื่อซึ่งได้แก่แมลงต่างๆ จากนั้นก็จะโฉบจับด้วยปากกลางอากาศ
- ป่าดิบ ชายป่า ส่วนใหญ่พบหากินบนพื้น
- สวนป่า/สวนสาธารณะ นกประจำถิ่น/นกอพยพในฤดูหนาว
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกาะ
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศเกษตร
- สวนยาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
- เลย
- พังงา
- นนทบุรี
- มุกดาหาร
- พะเยา
- น่าน
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน รังเป็นรูปถ้วย โดยสร้างจากมอสส์และกิ่งไม้เล็กๆ รองพื้นด้วยรากฝอย ขนนก และวัสดุเยื่อใยอื่นๆ วางรังตามกิ่งของต้นไม้ แต่ละรังมีไข่ 4 ฟอง ไข่สีเทาแกมเขียว มีลายขีดสีน้ำตาล ระยะเวลาฟักไข่
11 - 12 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าภูหลวง
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
- พื้นที่เกษตรกรรม
- ภูผาเทิบ
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
- นกอพยพ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ