ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่
- เลย
- เชียงใหม่
- พะเยา
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- ฉะเชิงเทรา
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ป่าภูหลวง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ป่าเขาผาลาด, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน), ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเทือกเขาแม่นางขาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้), ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย, ป่าสงวนแห่งชาติป่านาซาวฝั่งซ้ายถนนแพร่-น่าน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเลนคลองปะเหลียนและป่าคลองท่าบ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าควนออกบ้านน้ำตก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดเล็กมาก (15 ซม.) ปากอ้วนสั้นเป็นปากกรวย หัวค่อนข้างใหญ่ คอสั้น ปีกสั้นและปลายปีกแหลม หางสั้น ปลายหางเว้าตื้น ขาสั้น กระหม่อมสีน้ำตาลดำ บริเวณแก้มสีขาว มีลายแถบสีดำบริเวณหู และคอด้านล่าง มีลายพาดสีขาว 2 ลายที่ปีกและโคนปีก
- มีขนาดประมาณ 14-14.5 เซนติเมตร ปากดำ หัวน้ำตาลแดงเข้ม แก้มขาวมีแถบดำ คอดำ ลำตัวด้านบนน้ำตาลแดงมีลายดำ ปีกน้ำตาลแดงมีแถบแคบๆสีขาวพาด ลำตัวด้านล่างน้ำตาลแกมเทา
ระบบนิเวศ :
- พบหากินตามหมู่บ้าน อาหาร คือ เมล็ดข้าวเปลือก ธัญพืช เมล็ดหญ้า แมลง และตัวหนอน โดยมากมักหากินด้วยการกระโดดตามพื้นดิน หรือบริเวณสนามหญ้า
- ระบบนิเวศป่าไม้, พื้นที่การทำเกษตร
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์เกือบตลอดทั้งปี ทำรังตามชายคาบ้าน โดยใข้ใบไม้ ใบหญ้าแห้งเป็นวัสดุ รังเป็นรูปกระโจม หรือทรงกลม ไข่มีสีพื้นเป็นสีขาว-น้ำตาลอ่อนเป็นมัน ไม่มีลายใดๆ ในแต่ละรังมีไข่ 4-6 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 11-12 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Nan
NSM Nan
NSM Nan
NSM Bangkok
NSM -
NSM Pathum thani
NSM Pathum thani
NSM Phrae
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM -
NSM Chiang mai
NSM Chon buri
NSM Pathum thani
NSM Pathum thani
NSM Pathum thani
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
NSM -
AVE Songkhla Skin
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ