ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดใหญ่มาก (96-120 ช.ม.) ปากยาวตรงและปลายปากแหลม หัวค่อนข้างเล็ก คอยาวมาก ปีกยาวและปลายปีกแหลม หางค่อนข้างสั้น ขายาวมากและนิ้วค่อนข้างยาว ตัวเต็มวัยหัวและคอสีขาว มีแถบคาดตาเป็นขนยาวสีดำ จากตาไปยังท้ายทอยไปจนถึงหงอนขนจะมีสีดำ ด้านล่างลำตัวสีขาว ขนคลุมขนปีกและลำตัว
ด้านบนเป็นสีเทา
ระบบนิเวศ :
- พบตามแหล่งน้ำทั่วไปทั้งน้ำจืดและน้ำทะเล กินสัตว์น้ำต่างๆ เป็นอาหารโดยการยืนจ้องบนพืชลอยน้ำ เมื่อพบเหยื่อจะใช้ปากจิกและกลืนทันที
- ทุ่งหญ้า นาข้าว แอ่งน้ำขังในพรุ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- กระบี่
- นนทบุรี
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน ทำรังตามต้นไม้เป็นกลุ่ม รังเป็นแบบง่ายๆ สร้างหยาบๆ โดยใช้กิ่งไม้แห้งและกิ่งไม้สดมาวางซ้อนทับกัน ไข่สีเขียวแกมน้ำเงิน ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ใช้ระยะเวลาฟักไข่ 27-29 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
- นกอพยพ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ