ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3 - 10 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม แตกกิ่งต่ำ แผ่กิ่งก้านสาขาได้กว้าง ลำต้น มักคดงอเปลือกสีน้ำตาลปนเทา มีช่อระบายอากาศเป็นแนวตามยาวลำต้น ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ ใบรูปหัวใจสีเขียวเป็นมัน ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบหยักถี่ ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างเกลี้ยงหรือมีขนรูปดาวสีขาว แผ่นใบหนาคล้ายหนัง ดอก สีเหลืองแล้วเปลี่ยนเป็นสีแดง กลางดอกสีแดงเข้ม ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกหรือช่อแยกแขนงตามปลายกิ่ง ผลแห้งแตกรูปไข่เกือบกลม เปลือกมีขนละเอียดหนาแน่น เมื่อแก่แตกเป็น 5 พู เมล็ดขนาดเล็กมีจำนวนมาก เมล็ดสมบูรณ์ 5 - 7 เปอร์เซ็นต์ มีรูปคล้ายไต มีลายคล้ายจุดปลายเข็มรอบๆ และมีจะงอยปลายแหลมเล็กๆ เมื่อแก่สีน้ำตาลแก่จนเกือบดำ
- ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูง ๔ - ๑๐ เมตร ใบเดี่ยว รูปไข่กว้างหรือเกือบกลม ยาว ๘ - ๑๕ เซนติเมตร ปลายใบแหลมสั้น โคนใบรูปหัวใจ แผ่นใบมีขนค่อนข้างสาก เส้นโคนใบ ๗ หรือ ๙ เส้น ขอบส่วนมากเรียบ ดอกออกเป็นช่อกระจุกสั้น ตามปลายกิ่งหรือซอกใบ มี ๑ ดอกหรือหลายดอก ใบประดับคล้ายหูใบ ๑ คู่ ติดที่โคนก้านดอก ริ้วประดับ มี ๗ - ๑๐ กลีบ เชื่อมติดกันประมาณกึ่งหนึ่งของความยาว ปลายแยกเป็นแฉกรูปสามเหลี่ยม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจำนวนอย่างละ ๕ กลีบ กลีบเลี้ยงติดทน รูปใบหอก กลีบดอกสีเหลืองมีปื้นสีม่วงเข้มที่โคนด้านใน กลีบรูปไข่กลับ ผล รูปรีหรือเกือบกลม แข็ง ยาวประมาณ ๒ ซม. แตกเป็น ๕ ซีก มีขนหยาบแข็งยาวหนาแน่น เมล็ดรูปไต เกลี้ยง
- ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 3-10 ม. เรือนยอดแผ่กว้าง ลำต้นมักคดงอแตกกิ่งมาก เปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่องตื้นๆ สีเทาถึงน้ำตาลอ่อน เปลือกชั้นในสีชมพูประขาว มีเส้นใยเหนียว ลอกออกจากลำต้นได้ง่าย
ใบ เดี่ยว เรียงสลับถึงเวียนสลับห่างๆ แผ่นใบรูปหัวใจฐานกว้าง ขนาด 5-10x7-15 ซม. โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบหยักมนตื้น ๆ ปลายใบเป็นติ่งแหลมถึงเรียวแหลม เส้นใบแบบร่างแหนิ้วมือ มีเส้นใบหลักออกจากโคนใบ 7-11 เส้น ยกตัว มีต่อมแคบเรียวอยู่ใกล้โคนเส้น เส้นแขนงออกจาก เส้นแกนกลางใบ 4-6 คู่ เส้นใบย่อยสานกันเป็นร่างแห ผิวใบสีเขียวอ่อน ยกเว้นเส้นใบสีชมพูถึงแดงเรื่อแล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเขียวอมเหลือง ด้านบนมีขนสั้นนุ่มประปรายถึงเกือบเกลี้ยง ด้านล่างสีเขียวหม่น มีขนรูปดาวสีขาวปกคลุม เนื้อใบบางคล้ายกระดาษ ก้านใบยาว 3-8 ซม. มีขนสั้นหนานุ่ม หูใบออกเป็นคู่ขนาดใหญ่ ลักษณะคล้ายใบ รูปไข่ถึงสามเหลี่ยม สีแดงเรื่อ ยาว 2-3 ซม. หลุดร่วงง่าย
ดอก เดี่ยว ออกตามง่ามใบ หรือออกเป็นช่อกระจุกด้านเดียวใกล้ปลายกิ่ง ดอกขนาดใหญ่ คล้ายกระโปรงสีเหลือง แล้วเปลี่ยนเป็นสีส้มหรือแดงเรื่อ กลางดอกมีแต้มสีแดงเลือดหมูติดกัน เป็นดวง ดอกบานขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-10 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 1 ซม. ฐานดอกไม่มียาง สีเหลือง โคนริ้วประดับเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วยหรือรูประฆังกว้าง ยาวประมาณ 1 ซม. ปลายแยกเป็นแฉกลึกรูปสามเหลี่ยม 8-11 แฉก กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ยาวประมาณ 2 ซม. ปลายแยกเป็นแฉกรูปใบหอก 5 แฉก ยาวมากกว่าหลอดกลีบเลี้ยง มีขนละเอียดปกคลุมหนาแน่น กลีบดอก ขนาดใหญ่ 5 กลีบ รูปไข่กลับกว้าง เรียงบิดเวียน โคนกลีบด้านในสีแดงเลือดหมู อับเรณูจำนวนมาก ติดรอบก้าน ออกดอกเกือบตลอดปี
ผล แบบผลแห้งแตกกลางพู รูปทรงไข่เกือบกลม ติดบนถ้วยกลีบเลี้ยง ปลายผลเป็นจะงอยสั้น กว้างและยาวประมาณ 1.5 ซม. มีขนละเอียดปกคลุมหนาแน่น ผลแก่แตกเป็น 5 ซีก เมล็ดเล็ก รูปไต สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง มีจำนวนมาก ออกผลเกือบตลอดปี
- ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูง ๔ - ๑๐ เมตร ใบเดี่ยว รูปไข่กว้างหรือเกือบกลม ยาว ๘ - ๑๕ เซนติเมตร ปลายใบแหลมสั้น โคนใบรูปหัวใจ แผ่นใบมีขนค่อนข้างสาก เส้นโคนใบ ๗ หรือ ๙ เส้น ขอบส่วนมากเรียบ ดอกออกเป็นช่อกระจุกสั้น ตามปลายกิ่งหรือซอกใบ มี ๑ ดอกหรือหลายดอก ใบประดับคล้ายหูใบ ๑ คู่ ติดที่โคนก้านดอก ริ้วประดับ มี ๗ - ๑๐ กลีบ เชื่อมติดกันประมาณกึ่งหนึ่งของความยาว ปลายแยกเป็นแฉกรูปสามเหลี่ยม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจำนวนอย่างละ ๕ กลีบ กลีบเลี้ยงติดทน รูปใบหอก กลีบดอกสีเหลืองมีปื้นสีม่วงเข้มที่โคนด้านใน กลีบรูปไข่กลับ ผล รูปรีหรือเกือบกลม แข็ง ยาวประมาณ ๒ ซม. แตกเป็น ๕ ซีก มีขนหยาบแข็งยาวหนาแน่น เมล็ดรูปไต เกลี้ยง
- ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3 - 10 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม แตกกิ่งต่ำ แผ่กิ่งก้านสาขาได้กว้าง
ลำต้น : มักคดงอเปลือกสีน้ำตาลปนเทา มีช่อระบายอากาศเป็นแนวตามยาวลำต้น
ใบ : เดี่ยว เรียงเวียนสลับ ใบรูปหัวใจสีเขียวเป็นมัน ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบหยักถี่ ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างเกลี้ยงหรือมีขนรูปดาวสีขาว แผ่นใบหนาคล้ายหนัง
ดอก : สีเหลืองแล้วเปลี่ยนเป็นสีแดง กลางดอกสีแดงเข้ม ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกหรือช่อแยกแขนงตามปลายกิ่ง
ผล : แห้งแตกรูปไข่เกือบกลม เปลือกมีขนละเอียดหนาแน่น เมื่อแก่แตกเป็น 5 พู เมล็ดขนาดเล็กมีจำนวนมาก เมล็ดสมบูรณ์ 5 - 7 เปอร์เซ็นต์ มีรูปคล้ายไต มีลายคล้ายจุดปลายเข็มรอบๆ และมีจะงอยปลายแหลมเล็กๆ เมื่อแก่สีน้ำตาลแก่จนเกือบดำ
ระบบนิเวศ :
- พบขึ้นแพร่หลายตามชายทะเล แนวหลังป่าชายเลน แม่น้ำลำคลองภายใต้อิทธิพลของน้ำกร่อย พบริมฝั่งแม่น้ำที่ค่อนข้างชุ่มชื้นไปถึงป่าดิบเขาสูง 1,000 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สมุทรปราการ
- พังงา
- สมุทรปราการ
- สมุทรปราการ
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- บางกระเจ้า
- พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
- ป่าชายเลนคุระบุรี, อ่าวจาก คลองคุระบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง
การกระจายพันธุ์ :
- พบตั้งแต่ประเทศอินเดีย จีน เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบขึ้นตามชายฝั่งทะเล ในป่าดิบชื้นใกล้ชายฝั่ง ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา จนถึงระดับความสูงประมาณ ๑,๔๐๐ เมตร ทั่วทุกภาค
- เขตร้อนทั่วโลก
- พบตั้งแต่ประเทศอินเดีย จีน เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบขึ้นตามชายฝั่งทะเล ในป่าดิบชื้นใกล้ชายฝั่ง ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา จนถึงระดับความสูงประมาณ ๑,๔๐๐ เมตร ทั่วทุกภาค
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้นขนาดเล็ก (Small tree)
- - ต้นปอทะเล : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-10 ม. ทรงพุ่มแผ่กว้าง ลำต้นมักคดงอแตกกิ่งก้านมากเปลือกต้นสีเทาหรือสีนํ้าตาลอ่อนเรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้น เปลือกชั้นในสีชมพูประขาว เหนียว สามารถลอกออกจากลำต้นได้ง่าย
- ใบ : ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน ปลายมน มีขนรูปดาวยาวทั่วไป ใบรูปไข่ กว้างหรือเกือบกลม ยาว 8-15 ซม. ปลายใบแหลมสั้น โคนใบรูปหัวใจ แผ่นใบค่อนข้างหนา มีขนรูปดาวละเอียด ใกล้โคนใบมีเกล็ดรูปดาว ประปรายด้านปลายใบ เส้นโคนใบ 7 หรือ 9 เส้น ขอบใบเรียบ
- ดอก : สีเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่งมี 5 กลีบ กลีบดอกออกเวียนบิดแบบพัดลมขอบกลีบซ้อนทับกันเป็นรูปถ้วยกลาง ดอกสีแดงเข้ม เกสรเป็นแท่ง 1 อัน สีเหลืองปลายแดง บานในช่วงสายๆ พอถึงบ่ายดอกจะกลายเป็นสีชมพูแล้วค่อยๆ กลายเป็นสีแดงจนหลุด ร่วงในตอนเย็น
- ผล : ผลแห้งแตก รูปทรงไข่เกลือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลางผล 1.5-2 ซม. เปลือกมีขนละเอียด หนาแน่น เมื่อแก่แตกเป็น 5 พู เมล็ดเล็กจำนวนมาก ออกดอกและออกผลเกือบตลอดปี
- - ต้นปอทะเล : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-10 ม. ทรงพุ่มแผ่กว้าง ลำต้นมักคดงอแตกกิ่งก้านมากเปลือกต้นสีเทาหรือสีนํ้าตาลอ่อนเรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้น เปลือกชั้นในสีชมพูประขาว เหนียว สามารถลอกออกจากลำต้นได้ง่าย
- ใบ : ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน ปลายมน มีขนรูปดาวยาวทั่วไป ใบรูปไข่ กว้างหรือเกือบกลม ยาว 8-15 ซม. ปลายใบแหลมสั้น โคนใบรูปหัวใจ แผ่นใบค่อนข้างหนา มีขนรูปดาวละเอียด ใกล้โคนใบมีเกล็ดรูปดาว ประปรายด้านปลายใบ เส้นโคนใบ 7 หรือ 9 เส้น ขอบใบเรียบ
- ดอก : สีเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่งมี 5 กลีบ กลีบดอกออกเวียนบิดแบบพัดลมขอบกลีบซ้อนทับกันเป็นรูปถ้วยกลาง ดอกสีแดงเข้ม เกสรเป็นแท่ง 1 อัน สีเหลืองปลายแดง บานในช่วงสายๆ พอถึงบ่ายดอกจะกลายเป็นสีชมพูแล้วค่อยๆ กลายเป็นสีแดงจนหลุด ร่วงในตอนเย็น
- ผล : ผลแห้งแตก รูปทรงไข่เกลือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลางผล 1.5-2 ซม. เปลือกมีขนละเอียด หนาแน่น เมื่อแก่แตกเป็น 5 พู เมล็ดเล็กจำนวนมาก ออกดอกและออกผลเกือบตลอดปี
- - ต้นปอทะเล : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-10 ม. ทรงพุ่มแผ่กว้าง ลำต้นมักคดงอแตกกิ่งก้านมากเปลือกต้นสีเทาหรือสีนํ้าตาลอ่อนเรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้น เปลือกชั้นในสีชมพูประขาว เหนียว สามารถลอกออกจากลำต้นได้ง่าย
- ใบ : ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน ปลายมน มีขนรูปดาวยาวทั่วไป ใบรูปไข่ กว้างหรือเกือบกลม ยาว 8-15 ซม. ปลายใบแหลมสั้น โคนใบรูปหัวใจ แผ่นใบค่อนข้างหนา มีขนรูปดาวละเอียด ใกล้โคนใบมีเกล็ดรูปดาว ประปรายด้านปลายใบ เส้นโคนใบ 7 หรือ 9 เส้น ขอบใบเรียบ
- ดอก : สีเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่งมี 5 กลีบ กลีบดอกออกเวียนบิดแบบพัดลมขอบกลีบซ้อนทับกันเป็นรูปถ้วยกลาง ดอกสีแดงเข้ม เกสรเป็นแท่ง 1 อัน สีเหลืองปลายแดง บานในช่วงสายๆ พอถึงบ่ายดอกจะกลายเป็นสีชมพูแล้วค่อยๆ กลายเป็นสีแดงจนหลุด ร่วงในตอนเย็น
- ผล : ผลแห้งแตก รูปทรงไข่เกลือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลางผล 1.5-2 ซม. เปลือกมีขนละเอียด หนาแน่น เมื่อแก่แตกเป็น 5 พู เมล็ดเล็กจำนวนมาก ออกดอกและออกผลเกือบตลอดปี
- - ต้นปอทะเล : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-10 ม. ทรงพุ่มแผ่กว้าง ลำต้นมักคดงอแตกกิ่งก้านมากเปลือกต้นสีเทาหรือสีนํ้าตาลอ่อนเรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้น เปลือกชั้นในสีชมพูประขาว เหนียว สามารถลอกออกจากลำต้นได้ง่าย
- ใบ : ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน ปลายมน มีขนรูปดาวยาวทั่วไป ใบรูปไข่ กว้างหรือเกือบกลม ยาว 8-15 ซม. ปลายใบแหลมสั้น โคนใบรูปหัวใจ แผ่นใบค่อนข้างหนา มีขนรูปดาวละเอียด ใกล้โคนใบมีเกล็ดรูปดาว ประปรายด้านปลายใบ เส้นโคนใบ 7 หรือ 9 เส้น ขอบใบเรียบ
- ดอก : สีเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่งมี 5 กลีบ กลีบดอกออกเวียนบิดแบบพัดลมขอบกลีบซ้อนทับกันเป็นรูปถ้วยกลาง ดอกสีแดงเข้ม เกสรเป็นแท่ง 1 อัน สีเหลืองปลายแดง บานในช่วงสายๆ พอถึงบ่ายดอกจะกลายเป็นสีชมพูแล้วค่อยๆ กลายเป็นสีแดงจนหลุด ร่วงในตอนเย็น
- ผล : ผลแห้งแตก รูปทรงไข่เกลือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลางผล 1.5-2 ซม. เปลือกมีขนละเอียด หนาแน่น เมื่อแก่แตกเป็น 5 พู เมล็ดเล็กจำนวนมาก ออกดอกและออกผลเกือบตลอดปี
- - ต้นปอทะเล : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-10 ม. ทรงพุ่มแผ่กว้าง ลำต้นมักคดงอแตกกิ่งก้านมากเปลือกต้นสีเทาหรือสีนํ้าตาลอ่อนเรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้น เปลือกชั้นในสีชมพูประขาว เหนียว สามารถลอกออกจากลำต้นได้ง่าย
- ใบ : ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน ปลายมน มีขนรูปดาวยาวทั่วไป ใบรูปไข่ กว้างหรือเกือบกลม ยาว 8-15 ซม. ปลายใบแหลมสั้น โคนใบรูปหัวใจ แผ่นใบค่อนข้างหนา มีขนรูปดาวละเอียด ใกล้โคนใบมีเกล็ดรูปดาว ประปรายด้านปลายใบ เส้นโคนใบ 7 หรือ 9 เส้น ขอบใบเรียบ
- ดอก : สีเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่งมี 5 กลีบ กลีบดอกออกเวียนบิดแบบพัดลมขอบกลีบซ้อนทับกันเป็นรูปถ้วยกลาง ดอกสีแดงเข้ม เกสรเป็นแท่ง 1 อัน สีเหลืองปลายแดง บานในช่วงสายๆ พอถึงบ่ายดอกจะกลายเป็นสีชมพูแล้วค่อยๆ กลายเป็นสีแดงจนหลุด ร่วงในตอนเย็น
- ผล : ผลแห้งแตก รูปทรงไข่เกลือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลางผล 1.5-2 ซม. เปลือกมีขนละเอียด หนาแน่น เมื่อแก่แตกเป็น 5 พู เมล็ดเล็กจำนวนมาก ออกดอกและออกผลเกือบตลอดปี
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ดและตอนกิ่ง
- เพาะเมล็ดและตอนกิ่ง
- เพาะเมล็ดและตอนกิ่ง
- เพาะเมล็ดและตอนกิ่ง
- เพาะเมล็ดและตอนกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนของตัวอย่างที่นำมาใช้ :
- ราก ใบ ดอก
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ราก : ขับปัสสาวะ ระบายท้อง บดเป็นผงทำเป็นยาให้อาเจียน น้ำต้มราก เป็นยาเย็น ดื่มแก้ไข้ เปลือก : ทำให้อาเจียน แช่น้ำดื่มแก้โรคทางเดินอาหาร และใช้ทำเชือก ใบ : ใบอ่อนต้มกับน้ำตาลกินแก้ไอ หลอดลมอักเสบ หรือบดเป็นผงใส่แผล สด แผลเรื้อรัง เป็นยาระบายอ่อนๆ แก้บวม แก้อักเสบ ขับเสมหะ คั้นน้ำเป็นยาหยอดหู แก้หูอักเสบ หูเป็นฝี ดอก : ต้มกับน้ำนมหยอดใส่หูแก้อาการเจ็บ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล