ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าเลนคลองปะเหลียนและป่าคลองท่าบ้า ป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองกาโหรดและป่าคลองหิน
- ป่าชายเลนคุระบุรี, คลองคุระบุรี ชายฝั่งคุระบุรี
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะอ่างทอง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้น สูง 20-30 ม. เรือนยอดแผ่เป็นพุ่มกลม ลำต้นเปราตรง โคนต้นมีพูพอนเล็กน้อย เปลือกขรุขระ สีน้ำตาลคล้ำ แตกเป็นร่องตามยาวแล้วลอกเป็นแถบแคบ รากหายใจรูปร่างคล้ายกรวยคว่ำ กลมหรือแบน ใบ:ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับถึงเวียนสลับ ก้านช่อใบ โคนป่อง ประกอบด้วยใบย่อย 1-2(3)คู่ โคนใบแหลม เยื้อง ขอบใบเรียบ ปลายใบมนทื่อ เส้นใบแบบร่างแห ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้านดอก:ดอก แยกเพศอยู่ร่วมต้น แบบช่อเชิงลดมีก้านแยกแขนง ออกตามง่ามใบ ประกอบด้วยดอกย่อย 8-20 ดอก ดอกย่อยขนาดเล็ก สีนวล กลีบเลี้ยงจักเป็น 4 แฉก กลีบดอก 4 กลีบ รูปขอบขนาน ผล:ผล แบบผลแห้งแตกตามรอยประสาน รูปทรงกลมแป้น คล้ายผลส้ม เปลือกแข็ง หนา ผลแก่สีเขียวอมเหลืองถึงเขียวอมน้ำตาล ผลแก่แตกเป็น 4 ซีก เมล็ดขนาดใหญ่ 7-11 เมล็ด ลักษณะโค้งนูนหนึ่งด้านและเว้าสามด้าน เปลือกเมล็ดชั้นนอกเป็นคอร์กหนา เบา ลอยน้ำได้ เปลือก:อื่นๆ:

ไม้ต้น สูง 20-30 ม. เรือนยอดแผ่เป็นพุ่มกลม ลำต้นเปราตรง โคนต้นมีพูพอนเล็กน้อย เปลือกขรุขระ สีน้ำตาลคล้ำ แตกเป็นร่องตามยาวแล้วลอกเป็นแถบแคบ รากหายใจรูปร่างคล้ายกรวยคว่ำ กลมหรือแบน
ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับถึงเวียนสลับ ก้านช่อใบ โคนป่อง ประกอบด้วยใบย่อย 1-2(3)คู่ โคนใบแหลม เยื้อง ขอบใบเรียบ ปลายใบมนทื่อ เส้นใบแบบร่างแห ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน
ดอก แยกเพศอยู่ร่วมต้น แบบช่อเชิงลดมีก้านแยกแขนง ออกตามง่ามใบ ประกอบด้วยดอกย่อย 8-20 ดอก ดอกย่อยขนาดเล็ก สีนวล กลีบเลี้ยงจักเป็น 4 แฉก กลีบดอก 4 กลีบ รูปขอบขนาน
ผล แบบผลแห้งแตกตามรอยประสาน รูปทรงกลมแป้น คล้ายผลส้ม เปลือกแข็ง หนา ผลแก่สีเขียวอมเหลืองถึงเขียวอมน้ำตาล ผลแก่แตกเป็น 4 ซีก เมล็ดขนาดใหญ่ 7-11 เมล็ด ลักษณะโค้งนูนหนึ่งด้านและเว้าสามด้าน เปลือกเมล็ดชั้นนอกเป็นคอร์กหนา เบา ลอยน้ำได้

- ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 20-35 ม. ลำต้นเปลาตรง โคนต้นมีพูพอนเล็กน้อย เรือนยอดเป็นพุ่มกลม เปลือกขรุขระ สีน้ำตาลเข้มคล้ำ แตกเป็นร่องตามยาว ต้นแก่เปลือกลอกเป็นแถบแคบๆ เปลือกหนา ประมาณ 0.3-0.5 ซม. เนื้อไม้สีน้ำตาล มีรากหายใจรูปคล้ายกรวยคว่ำ กลมหรือแบน ปลายมน ยาว 20-40 ซม. จากผิวดิน
ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคู่ ชั้นเดียวไม่มีใบยอด เรียงสลับถึงเวียนสลับห่าง ๆ ใบย่อย 1-3 คู่ เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปรี ถึงรูปขอบขนานแกมรี ขนาด 2-6x5-15 ซม. ปลายใบมน ฐานใบแหลม ผิวใบเป็นมัน สีเขียวเข้ม และจะเปลี่ยนเป็นสีส้มอมเหลืองทั้งต้น ก่อนที่จะร่วงหล่น ก้านใบย่อยสั้นมาก
ดอก แบบช่อเชิงลดมีก้านแยกแขนง ออกตามง่ามใบ เป็นแบบช่อแยกแขนง ช่อดอกยาว 7-17 ซม. แกนกลางช่อเด่น แตกแขนงเป็นระเบียบ ประกอบด้วยช่อดอกย่อยจำนวนมาก ดอกย่อยขนาดเล็ก สีนวล เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ แต่ละกลีบยาว 1-1.5 ซม. กลีบดอก 4 กลีบ ไม่ติดกัน รูปขอบขนาน ยาว 0.4-0.8 ซม. สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ออกดอกพร้อมกับ ผลิใบใหม่ประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
ผล แบบผลแห้งแตกตามรอยประสาน รูปทรงค่อนข้างกลมคล้ายผลส้ม มีร่องเล็กน้อย สีเขียว ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6-12 ซม. ผลแก่แตกเป็น 4 ซีก เมล็ดขนาดใหญ่ สีน้ำตาล มี 7-11 เมล็ด ลักษณะโค้งนูนหนึ่งด้านและเว้าสามด้าน คล้ายพีระมิดมีฐานนูน ยาว 3-5 ซม. เปลือกเมล็ดชั้นนอกเป็น คอร์กหนา เบา ลอยน้ำได้ ผลแก่ประมาณเดือนสิงหาคม-ตุลาคม
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นตามป่าชายเลนที่เป็นเลนแข็ง ออกดอกพร้อมกับผลิใบใหม่ ประมาณเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ผลแก่ประมาณเดือนสิงหาคม-ตุลาคม การกระจายพันธุ์ อินเดีย เอเซัยตะวันออกเฉียงใต้
- ประเทศอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดถึงหมู่เกาะโซโลมอนและตองกา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พังงา
- สุราษฎร์ธานี
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น (Tree)
- - ต้นตะบูนดำ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-35 เมตร ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรงโคนต้นมีพูพอน เล็กน้อย เรือนยอดเป็นพุ่มกลม เปลือกขรุขระสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องตามยาว ต้นแก่เปลือกลอกเป็นแถบแคบๆ เปลือกหนาประมาณ 0.3-0.5 ซม. เนื้อไม้สีน้ำตาลมีรากหายใจ รูปคล้ายกรวยคว่ำ กลม หรือแบน ปลายมนยาว 20-40 ซม. จากผิวดิน
- ใบ : ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ไม่มีใบยอดเรียงสลับ ใบย่อย 1-3 คู่ เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปรีถึงรูปขอบขนานแกมรี ขนาด 2-6 x 5-15 ซม. ปลายใบมนฐานใบแหลม ผิวใบเป็นมัน สีเขียวเข้ม และจะเปลี่ยนเป็นสีส้มอมเหลืองทั้งต้น ก่อนที่จะร่วงหล่น ก้านใบย่อยสั้นมาก
- ดอก : ออกตามง่ามใบ เป็นแบบช่อแยกแขนงช่อดอกยาว 7-17 ซม. ประกอบด้วยดอกจำนวนมากกลีบเลี้ยง 4 กลีบ แต่ละกลีบยาว 1-1.5 ซม. กลีบดอก 4 กลีบไม่ติดกัน รูปของขนาน ยาว 0.4-0.8 ซม. สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ออกดอกพร้อมๆกับแตกใบใหม่ ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม
- ผล : ค่อนข้างกลม มีร่องเล็กน้อย สีเขียวขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-12 ซม. มี 7-11 เมล็ดลักษณะ โค้งนูนหนึ่งด้าน กว้าง 4-6 ซม. ผลแก่ประมาณเดือนสิงหาคม – ตุลาคม ขึ้นกระจายในบริเวณที่เป็นดินเลนค่อนข้างแข็งเนื้อไม้มีสีและลวดลายสวยงาม ใช้ตกแต่ง ทำเฟอร์นิเจอร์และก่อสร้างได้
- - ต้นตะบูนดำ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-35 เมตร ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรงโคนต้นมีพูพอน เล็กน้อย เรือนยอดเป็นพุ่มกลม เปลือกขรุขระสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องตามยาว ต้นแก่เปลือกลอกเป็นแถบแคบๆ เปลือกหนาประมาณ 0.3-0.5 ซม. เนื้อไม้สีน้ำตาลมีรากหายใจ รูปคล้ายกรวยคว่ำ กลม หรือแบน ปลายมนยาว 20-40 ซม. จากผิวดิน
- ใบ : ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ไม่มีใบยอดเรียงสลับ ใบย่อย 1-3 คู่ เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปรีถึงรูปขอบขนานแกมรี ขนาด 2-6 x 5-15 ซม. ปลายใบมนฐานใบแหลม ผิวใบเป็นมัน สีเขียวเข้ม และจะเปลี่ยนเป็นสีส้มอมเหลืองทั้งต้น ก่อนที่จะร่วงหล่น ก้านใบย่อยสั้นมาก
- ดอก : ออกตามง่ามใบ เป็นแบบช่อแยกแขนงช่อดอกยาว 7-17 ซม. ประกอบด้วยดอกจำนวนมากกลีบเลี้ยง 4 กลีบ แต่ละกลีบยาว 1-1.5 ซม. กลีบดอก 4 กลีบไม่ติดกัน รูปของขนาน ยาว 0.4-0.8 ซม. สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ออกดอกพร้อมๆกับแตกใบใหม่ ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม
- ผล : ค่อนข้างกลม มีร่องเล็กน้อย สีเขียวขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-12 ซม. มี 7-11 เมล็ดลักษณะ โค้งนูนหนึ่งด้าน กว้าง 4-6 ซม. ผลแก่ประมาณเดือนสิงหาคม – ตุลาคม ขึ้นกระจายในบริเวณที่เป็นดินเลนค่อนข้างแข็งเนื้อไม้มีสีและลวดลายสวยงาม ใช้ตกแต่ง ทำเฟอร์นิเจอร์และก่อสร้างได้
- - ต้นตะบูนดำ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-35 เมตร ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรงโคนต้นมีพูพอน เล็กน้อย เรือนยอดเป็นพุ่มกลม เปลือกขรุขระสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องตามยาว ต้นแก่เปลือกลอกเป็นแถบแคบๆ เปลือกหนาประมาณ 0.3-0.5 ซม. เนื้อไม้สีน้ำตาลมีรากหายใจ รูปคล้ายกรวยคว่ำ กลม หรือแบน ปลายมนยาว 20-40 ซม. จากผิวดิน
- ใบ : ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ไม่มีใบยอดเรียงสลับ ใบย่อย 1-3 คู่ เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปรีถึงรูปขอบขนานแกมรี ขนาด 2-6 x 5-15 ซม. ปลายใบมนฐานใบแหลม ผิวใบเป็นมัน สีเขียวเข้ม และจะเปลี่ยนเป็นสีส้มอมเหลืองทั้งต้น ก่อนที่จะร่วงหล่น ก้านใบย่อยสั้นมาก
- ดอก : ออกตามง่ามใบ เป็นแบบช่อแยกแขนงช่อดอกยาว 7-17 ซม. ประกอบด้วยดอกจำนวนมากกลีบเลี้ยง 4 กลีบ แต่ละกลีบยาว 1-1.5 ซม. กลีบดอก 4 กลีบไม่ติดกัน รูปของขนาน ยาว 0.4-0.8 ซม. สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ออกดอกพร้อมๆกับแตกใบใหม่ ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม
- ผล : ค่อนข้างกลม มีร่องเล็กน้อย สีเขียวขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-12 ซม. มี 7-11 เมล็ดลักษณะ โค้งนูนหนึ่งด้าน กว้าง 4-6 ซม. ผลแก่ประมาณเดือนสิงหาคม – ตุลาคม ขึ้นกระจายในบริเวณที่เป็นดินเลนค่อนข้างแข็งเนื้อไม้มีสีและลวดลายสวยงาม ใช้ตกแต่ง ทำเฟอร์นิเจอร์และก่อสร้างได้
- - ต้นตะบูนดำ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-35 เมตร ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรงโคนต้นมีพูพอน เล็กน้อย เรือนยอดเป็นพุ่มกลม เปลือกขรุขระสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องตามยาว ต้นแก่เปลือกลอกเป็นแถบแคบๆ เปลือกหนาประมาณ 0.3-0.5 ซม. เนื้อไม้สีน้ำตาลมีรากหายใจ รูปคล้ายกรวยคว่ำ กลม หรือแบน ปลายมนยาว 20-40 ซม. จากผิวดิน
- ใบ : ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ไม่มีใบยอดเรียงสลับ ใบย่อย 1-3 คู่ เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปรีถึงรูปขอบขนานแกมรี ขนาด 2-6 x 5-15 ซม. ปลายใบมนฐานใบแหลม ผิวใบเป็นมัน สีเขียวเข้ม และจะเปลี่ยนเป็นสีส้มอมเหลืองทั้งต้น ก่อนที่จะร่วงหล่น ก้านใบย่อยสั้นมาก
- ดอก : ออกตามง่ามใบ เป็นแบบช่อแยกแขนงช่อดอกยาว 7-17 ซม. ประกอบด้วยดอกจำนวนมากกลีบเลี้ยง 4 กลีบ แต่ละกลีบยาว 1-1.5 ซม. กลีบดอก 4 กลีบไม่ติดกัน รูปของขนาน ยาว 0.4-0.8 ซม. สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ออกดอกพร้อมๆกับแตกใบใหม่ ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม
- ผล : ค่อนข้างกลม มีร่องเล็กน้อย สีเขียวขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-12 ซม. มี 7-11 เมล็ดลักษณะ โค้งนูนหนึ่งด้าน กว้าง 4-6 ซม. ผลแก่ประมาณเดือนสิงหาคม – ตุลาคม ขึ้นกระจายในบริเวณที่เป็นดินเลนค่อนข้างแข็งเนื้อไม้มีสีและลวดลายสวยงาม ใช้ตกแต่ง ทำเฟอร์นิเจอร์และก่อสร้างได้
- - ต้นตะบูนดำ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-35 เมตร ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรงโคนต้นมีพูพอน เล็กน้อย เรือนยอดเป็นพุ่มกลม เปลือกขรุขระสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องตามยาว ต้นแก่เปลือกลอกเป็นแถบแคบๆ เปลือกหนาประมาณ 0.3-0.5 ซม. เนื้อไม้สีน้ำตาลมีรากหายใจ รูปคล้ายกรวยคว่ำ กลม หรือแบน ปลายมนยาว 20-40 ซม. จากผิวดิน
- ใบ : ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ไม่มีใบยอดเรียงสลับ ใบย่อย 1-3 คู่ เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปรีถึงรูปขอบขนานแกมรี ขนาด 2-6 x 5-15 ซม. ปลายใบมนฐานใบแหลม ผิวใบเป็นมัน สีเขียวเข้ม และจะเปลี่ยนเป็นสีส้มอมเหลืองทั้งต้น ก่อนที่จะร่วงหล่น ก้านใบย่อยสั้นมาก
- ดอก : ออกตามง่ามใบ เป็นแบบช่อแยกแขนงช่อดอกยาว 7-17 ซม. ประกอบด้วยดอกจำนวนมากกลีบเลี้ยง 4 กลีบ แต่ละกลีบยาว 1-1.5 ซม. กลีบดอก 4 กลีบไม่ติดกัน รูปของขนาน ยาว 0.4-0.8 ซม. สีขาวครีม เกสรเพศผู้ 8 อัน ออกดอกพร้อมๆกับแตกใบใหม่ ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม
- ผล : ค่อนข้างกลม มีร่องเล็กน้อย สีเขียวขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-12 ซม. มี 7-11 เมล็ดลักษณะ โค้งนูนหนึ่งด้าน กว้าง 4-6 ซม. ผลแก่ประมาณเดือนสิงหาคม – ตุลาคม ขึ้นกระจายในบริเวณที่เป็นดินเลนค่อนข้างแข็งเนื้อไม้มีสีและลวดลายสวยงาม ใช้ตกแต่ง ทำเฟอร์นิเจอร์และก่อสร้างได้
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ที่อยู่อาศัย,เนื้อไม้ที่แข็ง มีลวดลายและสีที่สวยงาม สามารถนำมาใช้ทำเป็นเฟอร์นิเจอร์
ที่มาของข้อมูล