ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 4-10 เมตร ลำต้น มักเป็นปุ่มปม เปลือกเรียบถึงแตกเป็นแผ่น สีเทาถึงน้ำตาลอมเทา เปลือกชั้นในสีน้ำตาลเรื่อถึงชมพู มีเส้นใยเหนียว ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ
เป็นกระจุกตามปลายกิ่ง แผ่นใบรูปรีแกมรูปใบหอกกลับ โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักรเป็นฟันเลื่อยถี่ ปลายใบเรียวแหลมหรือยาวคล้ายหาง ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมันวาว ด้านล่างสีซีดกว่า เนื้อใบบางและเหนียวคล้ายแผ่นหนัง ดอก แบบช่อเชิงลดมีก้าน ออกตามปลายกิ่ง บางครั้ง
ออกตามกิ่ง ช่อดอกห้อยลง ดอกย่อยขนาดใหญ่สีชมพูหรือขาวอมชมพู ผล แบบเมล็ดเดี่ยวแข็ง รูปทรงไข่ถึงทรงรี ผลแก่สีเขียวอมม่วงแดง ผลแห้งไม่แตกมี 1 เมล็ด
- ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 4-10 ม. ลำต้นมักเป็นปุ่มปม เปลือกเรียบถึงแตกเป็นแผ่น สีเทาถึงน้ำตาลอมเทา เปลือกชั้นในสีน้ำตาลเรื่อถึงชมพู มีเส้นใยเหนียว
ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับเป็นกระจุกตามปลายกิ่ง แผ่นใบรูปรีแกมรูปหอกกลับ ขนาด 5-15x20-40 ซม. โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อยถี่ ปลายใบเรียวแหลมหรือยาวคล้ายหาง เส้นใบแบบร่างแหขนนก เส้นกลางใบยกตัว เส้นแขนง 15-18 คู่ เส้นใบย่อยสานกันเป็นร่างแห ผิวใบเกลี้ยง ทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีซีดกว่า เนื้อใบบางและเหนียวคล้ายแผ่นหนัง ก้านใบอวบ ยาว 0.5-1 ซม. ด้านบนแบน ขอบเป็นครีบเล็กน้อย
ดอก แบบช่อเชิงลดมีก้านออกตามปลายกิ่ง ช่อดอกห้อยลงยาว 30-60 ซม. ดอกย่อยขนาดใหญ่ สีชมพูหรือขาวอมชมพู ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 ซม. ก้านช่อและก้านดอกย่อยสีชมพู ใบประดับรูปสาเหลี่ยม ลีบเลี้ยงสีเขียว เชื่อมติดเป็นเนื้อเดียวกัในดอก กลีบดอกตูม 4 กลีบ รูปไข่แกมรูปขอบขนานยาว 2-2.5 ซม. ออกดกระหว่างเดืนเมษายน-กรกฎาคม
ผล แบบเมล็ดเดียวแข็ง รูปทรงไข่ถึงรูปรี ขนาด 2-4x5-8 ซม. โคนผลสอบ ปลายผลสอบแล้วตัดและมีกลีบเลี้ยงติอยู่ ผลแก่สีเขียวอมม่วงแดง ผลแห้งไม่แตกมี 1 เมล็ด ออกผลระหว่างเดือนเมษายน-กรฎาคม
- ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 4-10 เมตร
ลำต้น : มักเป็นปุ่มปม เปลือกเรียบถึงแตกเป็นแผ่น สีเทาถึงน้ำตาลอมเทา เปลือกข้างในสีน้ำตาลเรื่อถึงชมพู มีเส้นใยเหนียว
ใบ : เป็นใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ เป็นกระจุกตามปลายกิ่ง แผ่นใบรูปรีแกมรูปใบหอกกลับ โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักรเป็นฟันเลื่อยถี่ ปลายใบเรียวแหลมหรือยาวคล้ายหาง ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมันวาว ด้านล่างสีซีดกว่า เนื้อใบบางและเหนียวคล้ายแผ่นหนัง
ดอก : แบบช่อเชิงลดมีก้าน ออกตามปลายกิ่ง บางครั้งออกตามกิ่ง ช่อดอกห้อยลง ดอกย่อยขนาดใหญ่สีชมพูหรือขาวอมชมพู
ผล : แบบเมล็ดเดี่ยวแข็ง รูปทรงไข่ถึงทรงรี ผลแก่สีเขียวอมม่วงแดง ผลแห้งไม่แตก มี 1 เมล็ด
ระบบนิเวศ :
- พบขึ้นบริเวณน้ำท่วมขัง ริมฝั่งแม่น้ำที่ไม่ห่างจากชายฝั่งทะเล และตามขอบป่าพรุ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สมุทรปราการ
- สมุทรปราการ
- ตาก
- ปัตตานี
- ยะลา
- นราธิวาส
- ยะลา, นราธิวาส
- สุราษฎร์ธานี
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- บางกระเจ้า
- พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
- พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
- อุทยานแห่งชาติ บางลาง
- อุทยานแห่งชาติ บูโด-สุไหงปาดี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
- ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้นขนาดเล็ก (Small tree)
- ต้น ไม้พุ่มถึงไม้ต้นขนาดกลาง แตกกิ่งก้านรอบต้น เปลือกแข็ง สีน้ำตาลปนเทา
ใบ ใบเดี่ยว รูปไข่ รูปรี หรือรูปไข่กลับ ปลายแหลม โคนสอบ ขอบหยักตื้น สีเขียวเข้ม แผ่นใบบางคล้ายกระดาษ ใบอ่อนสีน้ำตาลอมแดง
ดอก ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด มักห้อยลง ดอกสีชมพู ใบประดับรูปสามเหลี่ยมเกือบกลม สีชมพูเข้ม กลีบดอกสีชมพู ขอบกลีบม้วนออก เกสรเพศผู้สีชมพูจำนวนมากยาวประมาณ 5 เซนติเมตร เกสรเพศเมีย 1 เกสร ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ออกดอกช่วงเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม
ผล ผลเป็นรูปไข่ ปลายตัดตรง เมล็ดเป็นเมล็ดเดี่ยว
เปลือก เปลือกเรียบถึงแตกเป็นแผ่น สีเทาถึงน้ำตาลอมเทา เปลือกชั้นในสีน้ำตาลเรื่อถึงชมพู มีเส้นใยหนียว
- ต้น ไม้พุ่มถึงไม้ต้นขนาดกลาง แตกกิ่งก้านรอบต้น เปลือกแข็ง สีน้ำตาลปนเทา
ใบ ใบเดี่ยว รูปไข่ รูปรี หรือรูปไข่กลับ ปลายแหลม โคนสอบ ขอบหยักตื้น สีเขียวเข้ม แผ่นใบบางคล้ายกระดาษ ใบอ่อนสีน้ำตาลอมแดง
ดอก ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด มักห้อยลง ดอกสีชมพู ใบประดับรูปสามเหลี่ยมเกือบกลม สีชมพูเข้ม กลีบดอกสีชมพู ขอบกลีบม้วนออก เกสรเพศผู้สีชมพูจำนวนมากยาวประมาณ 5 เซนติเมตร เกสรเพศเมีย 1 เกสร ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ออกดอกช่วงเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม
ผล ผลเป็นรูปไข่ ปลายตัดตรง เมล็ดเป็นเมล็ดเดี่ยว
เปลือก เปลือกเรียบถึงแตกเป็นแผ่น สีเทาถึงน้ำตาลอมเทา เปลือกชั้นในสีน้ำตาลเรื่อถึงชมพู มีเส้นใยหนียว
- ต้น ไม้พุ่มถึงไม้ต้นขนาดกลาง แตกกิ่งก้านรอบต้น เปลือกแข็ง สีน้ำตาลปนเทา
ใบ ใบเดี่ยว รูปไข่ รูปรี หรือรูปไข่กลับ ปลายแหลม โคนสอบ ขอบหยักตื้น สีเขียวเข้ม แผ่นใบบางคล้ายกระดาษ ใบอ่อนสีน้ำตาลอมแดง
ดอก ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด มักห้อยลง ดอกสีชมพู ใบประดับรูปสามเหลี่ยมเกือบกลม สีชมพูเข้ม กลีบดอกสีชมพู ขอบกลีบม้วนออก เกสรเพศผู้สีชมพูจำนวนมากยาวประมาณ 5 เซนติเมตร เกสรเพศเมีย 1 เกสร ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ออกดอกช่วงเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม
ผล ผลเป็นรูปไข่ ปลายตัดตรง เมล็ดเป็นเมล็ดเดี่ยว
เปลือก เปลือกเรียบถึงแตกเป็นแผ่น สีเทาถึงน้ำตาลอมเทา เปลือกชั้นในสีน้ำตาลเรื่อถึงชมพู มีเส้นใยหนียว
- ต้น ไม้พุ่มถึงไม้ต้นขนาดกลาง แตกกิ่งก้านรอบต้น เปลือกแข็ง สีน้ำตาลปนเทา
ใบ ใบเดี่ยว รูปไข่ รูปรี หรือรูปไข่กลับ ปลายแหลม โคนสอบ ขอบหยักตื้น สีเขียวเข้ม แผ่นใบบางคล้ายกระดาษ ใบอ่อนสีน้ำตาลอมแดง
ดอก ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด มักห้อยลง ดอกสีชมพู ใบประดับรูปสามเหลี่ยมเกือบกลม สีชมพูเข้ม กลีบดอกสีชมพู ขอบกลีบม้วนออก เกสรเพศผู้สีชมพูจำนวนมากยาวประมาณ 5 เซนติเมตร เกสรเพศเมีย 1 เกสร ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ออกดอกช่วงเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม
ผล ผลเป็นรูปไข่ ปลายตัดตรง เมล็ดเป็นเมล็ดเดี่ยว
เปลือก เปลือกเรียบถึงแตกเป็นแผ่น สีเทาถึงน้ำตาลอมเทา เปลือกชั้นในสีน้ำตาลเรื่อถึงชมพู มีเส้นใยหนียว
- ต้น ไม้พุ่มถึงไม้ต้นขนาดกลาง แตกกิ่งก้านรอบต้น เปลือกแข็ง สีน้ำตาลปนเทา
ใบ ใบเดี่ยว รูปไข่ รูปรี หรือรูปไข่กลับ ปลายแหลม โคนสอบ ขอบหยักตื้น สีเขียวเข้ม แผ่นใบบางคล้ายกระดาษ ใบอ่อนสีน้ำตาลอมแดง
ดอก ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด มักห้อยลง ดอกสีชมพู ใบประดับรูปสามเหลี่ยมเกือบกลม สีชมพูเข้ม กลีบดอกสีชมพู ขอบกลีบม้วนออก เกสรเพศผู้สีชมพูจำนวนมากยาวประมาณ 5 เซนติเมตร เกสรเพศเมีย 1 เกสร ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ออกดอกช่วงเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม
ผล ผลเป็นรูปไข่ ปลายตัดตรง เมล็ดเป็นเมล็ดเดี่ยว
เปลือก เปลือกเรียบถึงแตกเป็นแผ่น สีเทาถึงน้ำตาลอมเทา เปลือกชั้นในสีน้ำตาลเรื่อถึงชมพู มีเส้นใยหนียว
การกระจายพันธุ์ :
- บริเวณแถบตอนใต้ของทวีปแอฟริกาถึงประเทศเคนยา ศรีลังกา อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอนเหนือของออสเตรเลีย ตลอดถึงหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
- เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
- เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
- เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
- เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนของตัวอย่างที่นำมาใช้ :
- ราก เปลือก ใบ ผล เมล็ด
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ราก : เป็นยาเย็น รักษาโรคไข้มาลาเรีย เปลือก : ทำยาต้มใช้เป็นยาภายนอก แก้โรคปวดข้อ ขับพยาธิ ใบ : ทำยาพอกแก้หิด แก้คัน แก้ไข้ทรพิษ ผล : ทำเป็นยาพอกเมื่อเป็นแผลถลอก แก้ผิวหนังพุพองและพอกแก้เจ็บคอ แก้ท้องเสีย แก้หืด แก้ไอ เมล็ด : ใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง ตาเจ็บ แก้จุกเสียด แก้โรคดีซ่าน โรคเกี่ยวกับน้ำดี
ที่มาของข้อมูล