ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Herb.
-
ไม้เถาเลื้อย ลำต้นอ่อน ลักษณะเป็นหัวหรือเป็นเหง้าขนาดเล็กฝังอยู่ใต้ดิน ใบเป็นใบเดี่ยว รูปยาวรี ก้านใบมีลักษณะเป็นกาบหุ้มลำต้น ปลายใบแหลม บิดม้วนเป็นมือเกาะ ขอบใบเรียบ ขนาดกว้าง 1.3-4 ซม. ยาว 8-25 ซม. ดอกใหญ่สีแดงหรือแดงแกมเหลือง ออกเดี่ยวๆ ตามกิ่ง กลีบดอก 5 กลีบ แยกกัน มักบิดเป็นเกลียว ปลายกลีบสีแดงเข้ม โคนกลีบสีเหลือง ขอบหยักเป็นลอนปลายแหลม ชูตั้งขึ้นทั้ง 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน ยาว 5-7 ซม. เป็นก้านยาว เรียงตัวแผ่กว้างเด่นชัด รังไข่สีเขียว มีก้านยาว โค้งขึ้น เมื่อดอกบานเต็มที่จะมีสีเข้มจัด ผลรูปกระสวย ผิวมัน มักมีสันตื้นๆ ขนาดกว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 6-8 ซม.
-
ไม้เถาเลื้อย ลำต้นอ่อน ลักษณะเป็นหัวหรือเป็นเหง้าขนาดเล็กฝังอยู่ใต้ดิน ใบเป็นใบเดี่ยว รูปยาวรี ก้านใบมีลักษณะเป็นกาบหุ้มลำต้น ปลายใบแหลม บิดม้วนเป็นมือเกาะ ขอบใบเรียบ ขนาดกว้าง 1.3-4 ซม. ยาว 8-25 ซม. ดอกใหญ่สีแดงหรือแดงแกมเหลือง ออกเดี่ยวๆ ตามกิ่ง กลีบดอก 5 กลีบ แยกกัน มักบิดเป็นเกลียว ปลายกลีบสีแดงเข้ม โคนกลีบสีเหลือง ขอบหยักเป็นลอนปลายแหลม ชูตั้งขึ้นทั้ง 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน ยาว 5-7 ซม. เป็นก้านยาว เรียงตัวแผ่กว้างเด่นชัด รังไข่สีเขียว มีก้านยาว โค้งขึ้น เมื่อดอกบานเต็มที่จะมีสีเข้มจัด ผลรูปกระสวย ผิวมัน มักมีสันตื้นๆ ขนาดกว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 6-8 ซม.
ระบบนิเวศ :
-
Forests, thickets; 900-1,300 m.
การกระจายพันธุ์ :
-
Africa, India, Sri Lanka, Nepal, China,
Myanmar, Indochina, Malaysia.
Myanmar, Indochina, Malaysia.
-
มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา ประเทศอินเดีย ไทย และกัมพูชา พบได้ตามป่าเปิดและป่าเบญจพรรณทั่วไป ที่ความสูง 50-400 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกติดผลเดือนมิถุนายน-ตุลาคม
-
มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา ประเทศอินเดีย ไทย และกัมพูชา พบได้ตามป่าเปิดและป่าเบญจพรรณทั่วไป ที่ความสูง 50-400 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกติดผลเดือนมิถุนายน-ตุลาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Alloverthecountry
-
นนทบุรี
-
อุบลราชธานี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
ตาก
-
ตาก
-
สุรินทร์
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
-
พื้นที่เกษตรกรรมริมน้ำนนทบุรีและเกาะเกร็ด
-
ผาแต้ม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เลื้อยล้มลุก/ไม้เถาล้มลุก
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ประดับตกแต่ง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2013)
ที่มาของข้อมูล
-
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
คู่มือพันธ์ุไม้ท้องถิ่น ตำบลแม่กิ๊ก อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |