ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง ๘ - ๓๐ เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปไข่ รูปขอบขนาน รูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกกลับ ปลายใบแหลม โคนใบเรียวสอบหรือแหลม ดอกออกเป็นช่อบริเวณซอกใบใกล้ปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ ๕ กลีบ กลีบดอกเชื่อมเป็นหลอดปลายแยกเป็นแฉก สีขาวนวลแล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง เกสรเพศผู้ ๕ อัน ติดอยู่ภายในหลอดกลีบดอกยื่นพ้นปากหลอดออกมา ผลสด กลม มีหลายเมล็ด เมื่อสุกสีเหลือง ส้ม หรือแดง เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง ๘ - ๓๐ เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปไข่ รูปขอบขนาน รูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกกลับ ปลายใบแหลม โคนใบเรียวสอบหรือแหลม ดอกออกเป็นช่อบริเวณซอกใบใกล้ปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ ๕ กลีบ กลีบดอกเชื่อมเป็นหลอดปลายแยกเป็นแฉก สีขาวนวลแล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง เกสรเพศผู้ ๕ อัน ติดอยู่ภายในหลอดกลีบดอกยื่นพ้นปากหลอดออกมา ผลสด กลม มีหลายเมล็ด เมื่อสุกสีเหลือง ส้ม หรือแดง เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง ๘ - ๓๐ เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปไข่ รูปขอบขนาน รูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกกลับ ปลายใบแหลม โคนใบเรียวสอบหรือแหลม ดอกออกเป็นช่อบริเวณซอกใบใกล้ปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ ๕ กลีบ กลีบดอกเชื่อมเป็นหลอดปลายแยกเป็นแฉก สีขาวนวลแล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง เกสรเพศผู้ ๕ อัน ติดอยู่ภายในหลอดกลีบดอกยื่นพ้นปากหลอดออกมา ผลสด กลม มีหลายเมล็ด เมื่อสุกสีเหลือง ส้ม หรือแดง เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง ๘ - ๓๐ เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปไข่ รูปขอบขนาน รูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกกลับ ปลายใบแหลม โคนใบเรียวสอบหรือแหลม ดอกออกเป็นช่อบริเวณซอกใบใกล้ปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ ๕ กลีบ กลีบดอกเชื่อมเป็นหลอดปลายแยกเป็นแฉก สีขาวนวลแล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง เกสรเพศผู้ ๕ อัน ติดอยู่ภายในหลอดกลีบดอกยื่นพ้นปากหลอดออกมา ผลสด กลม มีหลายเมล็ด เมื่อสุกสีเหลือง ส้ม หรือแดง เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในประเทศอินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และนิวกินี ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาคตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
-
พบในประเทศอินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และนิวกินี ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาคตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
-
พบในประเทศอินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และนิวกินี ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาคตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
-
พบในประเทศอินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และนิวกินี ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาคตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโต๊ะแดง)
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
กันเกรา เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ขึ้นโดยทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายนจะออกดอกเป็น ช่อสีเหลือง มีกลิ่นหอมขจรขจาย ต้นกันเกรามีชื่อเรียกอื่นว่า มันปลา ตำเสา มะซูไม้ต้น
-
กันเกรา เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ขึ้นโดยทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายนจะออกดอกเป็น ช่อสีเหลือง มีกลิ่นหอมขจรขจาย ต้นกันเกรามีชื่อเรียกอื่นว่า มันปลา ตำเสา มะซูไม้ต้น
-
กันเกรา เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ขึ้นโดยทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายนจะออกดอกเป็น ช่อสีเหลือง มีกลิ่นหอมขจรขจาย ต้นกันเกรามีชื่อเรียกอื่นว่า มันปลา ตำเสา มะซูไม้ต้น
-
กันเกรา เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ขึ้นโดยทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายนจะออกดอกเป็น ช่อสีเหลือง มีกลิ่นหอมขจรขจาย ต้นกันเกรามีชื่อเรียกอื่นว่า มันปลา ตำเสา มะซูไม้ต้น
การขยายพันธุ์ :
-
การขยายพันธุ์ไม้กันเกราที่เหมาะสมและได้ผลคือ การขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด การเพาะเมล็ดสามารถทำได้โดยการหว่านเมล็ดลงในกระบะเพาะที่บรรจุดินร่วนผสมทรายละเอียดแกลบเผา ซึ่งดินที่ใช้ต้องเป็นดินใหม่ และควรนำมาตากแดดก่อน 2-3 วัน เมื่อหว่านเมล็ดลงไปแล้วให้ใช้ไม้บาง ๆ กดทับเมล็ดให้ฝังตัวลงไปในดินอีกครั้ง และใช้ทรายโรยกลบลงไปอีกครั้งบาง ๆ หนาประมาณ 0.3 ซม. แล้วรดน้ำวันละ 2 ครั้ง จนกว่าเมล็ดจะงอกเป็นต้นกล้า ซึ่งเมล็ดจะงอกหลังจากเพาะ 2-3 วัน
-
การขยายพันธุ์ไม้กันเกราที่เหมาะสมและได้ผลคือ การขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด การเพาะเมล็ดสามารถทำได้โดยการหว่านเมล็ดลงในกระบะเพาะที่บรรจุดินร่วนผสมทรายละเอียดแกลบเผา ซึ่งดินที่ใช้ต้องเป็นดินใหม่ และควรนำมาตากแดดก่อน 2-3 วัน เมื่อหว่านเมล็ดลงไปแล้วให้ใช้ไม้บาง ๆ กดทับเมล็ดให้ฝังตัวลงไปในดินอีกครั้ง และใช้ทรายโรยกลบลงไปอีกครั้งบาง ๆ หนาประมาณ 0.3 ซม. แล้วรดน้ำวันละ 2 ครั้ง จนกว่าเมล็ดจะงอกเป็นต้นกล้า ซึ่งเมล็ดจะงอกหลังจากเพาะ 2-3 วัน
-
การขยายพันธุ์ไม้กันเกราที่เหมาะสมและได้ผลคือ การขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด การเพาะเมล็ดสามารถทำได้โดยการหว่านเมล็ดลงในกระบะเพาะที่บรรจุดินร่วนผสมทรายละเอียดแกลบเผา ซึ่งดินที่ใช้ต้องเป็นดินใหม่ และควรนำมาตากแดดก่อน 2-3 วัน เมื่อหว่านเมล็ดลงไปแล้วให้ใช้ไม้บาง ๆ กดทับเมล็ดให้ฝังตัวลงไปในดินอีกครั้ง และใช้ทรายโรยกลบลงไปอีกครั้งบาง ๆ หนาประมาณ 0.3 ซม. แล้วรดน้ำวันละ 2 ครั้ง จนกว่าเมล็ดจะงอกเป็นต้นกล้า ซึ่งเมล็ดจะงอกหลังจากเพาะ 2-3 วัน
-
การขยายพันธุ์ไม้กันเกราที่เหมาะสมและได้ผลคือ การขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด การเพาะเมล็ดสามารถทำได้โดยการหว่านเมล็ดลงในกระบะเพาะที่บรรจุดินร่วนผสมทรายละเอียดแกลบเผา ซึ่งดินที่ใช้ต้องเป็นดินใหม่ และควรนำมาตากแดดก่อน 2-3 วัน เมื่อหว่านเมล็ดลงไปแล้วให้ใช้ไม้บาง ๆ กดทับเมล็ดให้ฝังตัวลงไปในดินอีกครั้ง และใช้ทรายโรยกลบลงไปอีกครั้งบาง ๆ หนาประมาณ 0.3 ซม. แล้วรดน้ำวันละ 2 ครั้ง จนกว่าเมล็ดจะงอกเป็นต้นกล้า ซึ่งเมล็ดจะงอกหลังจากเพาะ 2-3 วัน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบูรณ์
-
จันทบุรี
-
สระแก้ว
-
นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
อุตรดิตถ์
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,ไม้ดอกไม้ประดับ
ข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
-
ดร. วีระชัย ณ นคร / มูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (IUCN, )
ที่มาของข้อมูล
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)