ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถา ลำต้นมีขนยาว หูใบรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 2-3 มม. ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ก้านยาว 2.5-6 ซม. ใบย่อยรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 2.5-10 ซม. ใบด้านข้างขนาดเล็กกว่าใบปลาย เบี้ยวเล็กน้อย แผ่นใบมีขนกระจายทั้งสองด้าน ก้านใบสั้น ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ มี 2-4 ดอก ก้านช่อยาว 2.5-7 ซม. ใบประดับรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 6-9 มม. ใบประดับย่อยรูปรี แนบติดกลีบเลี้ยง ยาวกว่าใบประดับ กลีบเลี้ยงรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปแถบขนาดเล็กไม่เท่ากัน 2 กลีบบนเชื่อมติดกัน ดอกสีขาว ชมพู หรืออมม่วง กลีบกลางกลม ยาว 2-3 ซม. มีก้านกลีบสั้น ๆ โคนมีขนยาว มีเดือยสั้น ๆ กลีบปีกและกลีบคู่ล่างขนาดเล็ก กลีบปีกรูปเคียว ข้างหนึ่งมีติ่ง เกสรเพศผู้ติด 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งมี 9 อัน อีกกลุ่มหนึ่งมี 1 อัน รังไข่ไร้ก้าน ก้านเกสรเพศเมียแบน ปลายมีขน ฝักแบนรูปแถบ ยาว 7-13 ซม. ปลายมีจะงอย แตกบิดเวียน มี 7-15 เมล็ด รูปรี ยาว 4-5 มม. มีขั้ว
-
ลำต้นเลื้อยพัน (twining) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 1.46-1.86 มิลลิเมตร ลำต้นสีเขียวเข้มปนน้ำตาล มีขนสั้น ๆ สีน้ำตาลแดงปกคลุมปานกลาง ใบมี 3 ใบย่อยและมีก้านใบ (pinnately trifoliate) ใบรูปไข่ ใบบนยาว 4.49-7.69 เซนติเมตร กว้าง 3.25-4.15 เซนติเมตร ใบข้างยาว 4.35-5.43 เซนติเมตร กว้าง 2.34-3.3 เซนติเมตร ผิวใบค่อนข้างหยาบ สีใบเขียวอมเหลือง หน้าใบ หลังใบมีขนสั้น ๆ จำนวนปานกลาง ซึ่งเปรียบเทียบกับถั่วลายดอกสีม่วง (commercial centro) ที่มีขนสั้น ๆ ละเอียดจำนวนมากกว่าทั้งหน้าใบและหลังใบ ลักษณะหูใบ (stipule) เป็นรูปหนาม หรือแหลม (spinose or filiform) มีสีน้ำตาล ช่วงออกดอกปลายเดือน ตุลาคม – กันยายน ซึ่งเร็วกว่าถั่วลายดอกสีม่วงประมาณหนึ่งเดือน ดอกแบบช่อกระจะ (raceme) เกิดจากซอกข้อ ความยาวช่อดอก 5.32-8.04 เซนติเมตร ดอกเดี่ยวรวมเป็นพวงขนาดเล็ก ความยาวของดอก 1.32-2.58 เซนติเมตร กลีบดอกสีขาวอมเหลืองอ่อน ๆ ฝักแก่สีน้ำตาล รูปฝักค่อนข้างแบน รอยคอดระหว่างข้อฝักไม่ชัดเจน ฝักยาว 9.53-11.37 เซนติเมตร กว้าง 0.53-0.61 เซนติเมตร
-
เป็นไม้เถาล้มลุก อายุปีเดียว ยาวได้ถึง ๓ เมตร ใบประกอบ มี ๓ ใบย่อย เถามีขนสาก ดอกสีม่วงอ่อนหรือชมพูอ่อน ลักษณะคล้ายดอกอัญชัน กว้างประมาณ ๔ เซนติเมตร ฝักเป็นแท่งแบนเรียวยาว ๑๕-๒๐ เซนติเมตร มักพบตามที่รกร้างกลางแจ้งทั่วไป
-
ลำต้นเลื้อยพัน (twining) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 1.46-1.86 มิลลิเมตร ลำต้นสีเขียวเข้มปนน้ำตาล มีขนสั้น ๆ สีน้ำตาลแดงปกคลุมปานกลาง ใบมี 3 ใบย่อยและมีก้านใบ (pinnately trifoliate) ใบรูปไข่ ใบบนยาว 4.49-7.69 เซนติเมตร กว้าง 3.25-4.15 เซนติเมตร ใบข้างยาว 4.35-5.43 เซนติเมตร กว้าง 2.34-3.3 เซนติเมตร ผิวใบค่อนข้างหยาบ สีใบเขียวอมเหลือง หน้าใบ หลังใบมีขนสั้น ๆ จำนวนปานกลาง ซึ่งเปรียบเทียบกับถั่วลายดอกสีม่วง (commercial centro) ที่มีขนสั้น ๆ ละเอียดจำนวนมากกว่าทั้งหน้าใบและหลังใบ ลักษณะหูใบ (stipule) เป็นรูปหนาม หรือแหลม (spinose or filiform) มีสีน้ำตาล ช่วงออกดอกปลายเดือน ตุลาคม – กันยายน ซึ่งเร็วกว่าถั่วลายดอกสีม่วงประมาณหนึ่งเดือน ดอกแบบช่อกระจะ (raceme) เกิดจากซอกข้อ ความยาวช่อดอก 5.32-8.04 เซนติเมตร ดอกเดี่ยวรวมเป็นพวงขนาดเล็ก ความยาวของดอก 1.32-2.58 เซนติเมตร กลีบดอกสีขาวอมเหลืองอ่อน ๆ ฝักแก่สีน้ำตาล รูปฝักค่อนข้างแบน รอยคอดระหว่างข้อฝักไม่ชัดเจน ฝักยาว 9.53-11.37 เซนติเมตร กว้าง 0.53-0.61 เซนติเมตร
-
ลำต้นเลื้อยพัน (twining) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 1.46-1.86 มิลลิเมตร ลำต้นสีเขียวเข้มปนน้ำตาล มีขนสั้น ๆ สีน้ำตาลแดงปกคลุมปานกลาง ใบมี 3 ใบย่อยและมีก้านใบ (pinnately trifoliate) ใบรูปไข่ ใบบนยาว 4.49-7.69 เซนติเมตร กว้าง 3.25-4.15 เซนติเมตร ใบข้างยาว 4.35-5.43 เซนติเมตร กว้าง 2.34-3.3 เซนติเมตร ผิวใบค่อนข้างหยาบ สีใบเขียวอมเหลือง หน้าใบ หลังใบมีขนสั้น ๆ จำนวนปานกลาง ซึ่งเปรียบเทียบกับถั่วลายดอกสีม่วง (commercial centro) ที่มีขนสั้น ๆ ละเอียดจำนวนมากกว่าทั้งหน้าใบและหลังใบ ลักษณะหูใบ (stipule) เป็นรูปหนาม หรือแหลม (spinose or filiform) มีสีน้ำตาล ช่วงออกดอกปลายเดือน ตุลาคม – กันยายน ซึ่งเร็วกว่าถั่วลายดอกสีม่วงประมาณหนึ่งเดือน ดอกแบบช่อกระจะ (raceme) เกิดจากซอกข้อ ความยาวช่อดอก 5.32-8.04 เซนติเมตร ดอกเดี่ยวรวมเป็นพวงขนาดเล็ก ความยาวของดอก 1.32-2.58 เซนติเมตร กลีบดอกสีขาวอมเหลืองอ่อน ๆ ฝักแก่สีน้ำตาล รูปฝักค่อนข้างแบน รอยคอดระหว่างข้อฝักไม่ชัดเจน ฝักยาว 9.53-11.37 เซนติเมตร กว้าง 0.53-0.61 เซนติเมตร
-
ลำต้นเลื้อยพัน (twining) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 1.46-1.86 มิลลิเมตร ลำต้นสีเขียวเข้มปนน้ำตาล มีขนสั้น ๆ สีน้ำตาลแดงปกคลุมปานกลาง ใบมี 3 ใบย่อยและมีก้านใบ (pinnately trifoliate) ใบรูปไข่ ใบบนยาว 4.49-7.69 เซนติเมตร กว้าง 3.25-4.15 เซนติเมตร ใบข้างยาว 4.35-5.43 เซนติเมตร กว้าง 2.34-3.3 เซนติเมตร ผิวใบค่อนข้างหยาบ สีใบเขียวอมเหลือง หน้าใบ หลังใบมีขนสั้น ๆ จำนวนปานกลาง ซึ่งเปรียบเทียบกับถั่วลายดอกสีม่วง (commercial centro) ที่มีขนสั้น ๆ ละเอียดจำนวนมากกว่าทั้งหน้าใบและหลังใบ ลักษณะหูใบ (stipule) เป็นรูปหนาม หรือแหลม (spinose or filiform) มีสีน้ำตาล ช่วงออกดอกปลายเดือน ตุลาคม – กันยายน ซึ่งเร็วกว่าถั่วลายดอกสีม่วงประมาณหนึ่งเดือน ดอกแบบช่อกระจะ (raceme) เกิดจากซอกข้อ ความยาวช่อดอก 5.32-8.04 เซนติเมตร ดอกเดี่ยวรวมเป็นพวงขนาดเล็ก ความยาวของดอก 1.32-2.58 เซนติเมตร กลีบดอกสีขาวอมเหลืองอ่อน ๆ ฝักแก่สีน้ำตาล รูปฝักค่อนข้างแบน รอยคอดระหว่างข้อฝักไม่ชัดเจน ฝักยาว 9.53-11.37 เซนติเมตร กว้าง 0.53-0.61 เซนติเมตร
-
ไม้เถา ลำต้นมีขนยาว หูใบรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 2-3 มม. ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ก้านยาว 2.5-6 ซม. ใบย่อยรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 2.5-10 ซม. ใบด้านข้างขนาดเล็กกว่าใบปลาย เบี้ยวเล็กน้อย แผ่นใบมีขนกระจายทั้งสองด้าน ก้านใบสั้น ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ มี 2-4 ดอก ก้านช่อยาว 2.5-7 ซม. ใบประดับรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 6-9 มม. ใบประดับย่อยรูปรี แนบติดกลีบเลี้ยง ยาวกว่าใบประดับ กลีบเลี้ยงรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปแถบขนาดเล็กไม่เท่ากัน 2 กลีบบนเชื่อมติดกัน ดอกสีขาว ชมพู หรืออมม่วง กลีบกลางกลม ยาว 2-3 ซม. มีก้านกลีบสั้น ๆ โคนมีขนยาว มีเดือยสั้น ๆ กลีบปีกและกลีบคู่ล่างขนาดเล็ก กลีบปีกรูปเคียว ข้างหนึ่งมีติ่ง เกสรเพศผู้ติด 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งมี 9 อัน อีกกลุ่มหนึ่งมี 1 อัน รังไข่ไร้ก้าน ก้านเกสรเพศเมียแบน ปลายมีขน ฝักแบนรูปแถบ ยาว 7-13 ซม. ปลายมีจะงอย แตกบิดเวียน มี 7-15 เมล็ด รูปรี ยาว 4-5 มม. มีขั้ว
-
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 1.46-1.86 มิลลิเมตร ใบบนยาว 4.49-7.69 เซนติเมตร กว้าง 3.25-4.15 เซนติเมตร ใบข้างยาว 4.35-5.43 เซนติเมตร กว้าง 2.34-3.3 เซนติเมตร ความยาวของดอก 1.32-2.58 เซนติเมตร ความยาวช่อดอก 5.32-8.04 เซนติเมตร ฝักยาว 9.53-11.37 เซนติเมตร กว้าง 0.53-0.61 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดมาจากอเมริกากลาง ถูกนำไปปลูกยังส่วนอื่นๆ ของโลก
-
มีถิ่นกำเนิดมาจากอเมริกากลาง ถูกนำไปปลูกยังส่วนอื่นๆ ของโลก
-
มีถิ่นกำเนิดมาจากอเมริกากลาง ถูกนำไปปลูกยังส่วนอื่นๆ ของโลก
-
มีถิ่นกำเนิดมาจากอเมริกากลาง ถูกนำไปปลูกยังส่วนอื่นๆ ของโลก
-
พบในพื้นที่ที่ดินร่วนป่าโปร่ง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย/กลุ่มป่าแก่งกระจาน (อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติกุยบุรี อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี)
-
ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
ถิ่นกำเนิด :
-
เขตร้อนในทวีปอเมริกา
-
ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,ราชบุรี
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
กิ่งอำเภอหนองหิน จังหวัดเลย
-
ชุมพร, สุราษฎร์ธานี
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชอายุหลายปี ลักษณะลำต้นเลื้อยพัน (twining) ลำต้นสีเขียวเข้มปนน้ำตาล มีขนสั้น ๆ สีน้ำตาลแดงปกคลุมปานกลาง ใบมี 3 ใบย่อยและมีก้านใบ (pinnately trifoliate) ใบรูปไข่ ผิวใบค่อนข้างหยาบ สีใบเขียวอมเหลือง หน้าใบ หลังใบมีขนสั้น ๆ จำนวนปานกลาง ซึ่งเปรียบเทียบกับถั่วลายดอกสีม่วง (commercial centro) ที่มีขนสั้น ๆ ละเอียดจำนวนมากกว่าทั้งหน้าใบและหลังใบ ลักษณะหูใบ (stipule) เป็นรูปหนาม หรือแหลม (spinose or filiform) มีสีน้ำตาล ช่วงออกดอกปลายเดือน ตุลาคม – กันยายน ซึ่งเร็วกว่าถั่วลายดอกสีม่วงประมาณหนึ่งเดือน ดอกแบบช่อกระจะ (raceme) เกิดจากซอกข้อ ดอกเดี่ยวรวมเป็นพวงขนาดเล็ก กลีบดอกสีขาวอมเหลืองอ่อน ๆ ฝักแก่สีน้ำตาล รูปฝักค่อนข้างแบน รอยคอดระหว่างข้อฝักไม่ชัดเจน
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เป็นอาหารสัตว์สำหรับโค
-
อาหาร
-
ปลูกเป็นพืชคลุมดิน อาหารสัตว์ เมล็ดกินได้
ที่มาของข้อมูล
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
-
กรมป่าไม้
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เรื่อง มาตรการป้องกัน ควบคุม และกำจัด ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |