ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง–ปากน้ำตรัง
ระบบนิเวศ :
-
Marine
-
บริเวณใกล้ผิวน้ำจนถึงพื้นท้องทะเลตามขายฝั่งทะเลและแนวปะการัง จนถึงไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 140 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
Indo-Pacific
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 160 ซม. ขนาดทั่วไปที่พบ 60-150 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 90-128
ชม. เพศเมีย 95-118 ชม. และขนาดแรกเกิด 45-60 ชม.
- จะงอยปากโค้ง มีร่องที่มุมปากสั้น ฟันมีขอบหยักปลายเอียง ฐานฟันบนมีซี่ฟันเล็กๆ ปลายครีบหลังอันที่สอง ครีบอก และแพนครีบหางตอนล่างมีสีดำเข้ม ครีบหลังอันที่สองยาวมากกว่า 2 เท่าความสูงของครีบ มีสันนูนระหว่างครีบหลัง ลำตัวสีเทาหรือน้ำตาลเทา และด้านท้องมีสีขาว
- เป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัวครั้งละ 1-8 ตัวใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 10เดือน ปลาที่โตเต็มวัยมีอายุ 5-7 ปี (อายุสูงสุดที่มีรายงานคือ 8 ปี) และสืบพันธุ์ได้เมื่ออายุ 2-3 ปี ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก ปลาหมึก กุ้งและปูเป็นอาหาร
ชม. เพศเมีย 95-118 ชม. และขนาดแรกเกิด 45-60 ชม.
- จะงอยปากโค้ง มีร่องที่มุมปากสั้น ฟันมีขอบหยักปลายเอียง ฐานฟันบนมีซี่ฟันเล็กๆ ปลายครีบหลังอันที่สอง ครีบอก และแพนครีบหางตอนล่างมีสีดำเข้ม ครีบหลังอันที่สองยาวมากกว่า 2 เท่าความสูงของครีบ มีสันนูนระหว่างครีบหลัง ลำตัวสีเทาหรือน้ำตาลเทา และด้านท้องมีสีขาว
- เป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัวครั้งละ 1-8 ตัวใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 10เดือน ปลาที่โตเต็มวัยมีอายุ 5-7 ปี (อายุสูงสุดที่มีรายงานคือ 8 ปี) และสืบพันธุ์ได้เมื่ออายุ 2-3 ปี ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก ปลาหมึก กุ้งและปูเป็นอาหาร
-
เปนปลาฉลามที่มีขนาดหลากหลาย พบตั้งแตขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ ลําตัวเรียวเปนรูปกระสวย สวนหัวแบนลงเล็กนอย จะงอยปากคอนขางยาว ตากลมดานลางมีหนังปิดตา (nictitating membrane) สีขาวขุ่น ไม่มีร่องเชื่อมระหว่างจมูกกับปาก ไม่มีหนวด ปากอยูตํ่าลักษณะโคงเป็นรูปพระจันทรเสี้ยว ปากกวางที่มุมปากมี labial furrow ยาว ปากมีฟันคมคล้ายใบมีดโกน ตอนหน้าของซี่ฟันที่อยู่บริเวณขากรรไกรบนมีขนาดเล็กกว่าแถวฟนที่อยูดานขาง และไมมีแถวฟันนแทรกระหวางชุดฟนดานหนาและสวนทายของขากรรไกรทั้งสองดาน ฟนสามารถซอนอยูภายในปากอยางมิดชิดในขณะที่หุบปาก ครีบหลังมี 2 ตอน ครีบตอนแรกตั้งอยูระหวางครีบหูกับครีบทอง โดยมีจุดกําเนิดอยูหนาจุดกําเนิดของครีบทอง ครีบหลังตอนที่สองมีขนาดเล็กกวาครีบหลังตอนแรก ครีบหางมี 2 แพน โดยแพนบนยาวกวาแพนลางมาก แพนลางมีขนาดคอนขางใหญ
คอดหางมีรองขวาง (precaudal pit) ที่ฐานของแพนหางดานบน มีพื้นลําตัวเปนสีเทาอมดําและอาจพบแถบสีดําบริเวณครีบ
คอดหางมีรองขวาง (precaudal pit) ที่ฐานของแพนหางดานบน มีพื้นลําตัวเปนสีเทาอมดําและอาจพบแถบสีดําบริเวณครีบ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อนำมาบริโภค หรือแปรรูปตากแห้ง ครีบใช้ทำหูฉลามตากแห้ง ตับใช้ทำน้ำมันตับปลาและสกัดวิตามินเอ กระดูกสันหลังใช้เป็นส่วนผสมยา ผิวหนังใช้ทำเครื่องหนัง ฟันและขากรรไกรใช้ทำเครื่องประดับหรือของแต่งบ้าน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2009)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2009)
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
-
ชนิดปลาบริเวณอ่าวไทยตอนในจากเรือสำรวจประมง 2, กรมประมง, 2563
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)
ข้อมูลสภานภาพ CITES
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2023-02-23)
- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2023-02-23)
- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2023-02-23)
- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2023-02-23)
CITES ไทย
- บัญชีหมายเลข II