ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (23 ซม.) ปากเรียวแหลมหางยาวปลายหางมนแผ่เล็กน้อยเป็นรูปพัด ตัวผู้ลำตัวด้านบนทั้งหมดสีดำ ปีกคำมีแถบ
สีขาวชัดเจน หางสีดำขนหางคู่นอกจะเป็นสีขาว คอหอยและอกสีดำ ด้านล่างลำตัวสีขาว ตัวเมียลักษณะคล้ายตัวผู้บริเวณที่เป็นสีดำของตัวผู้ในตัวเมียจะเป็นสีเทาเข้มแทน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ตัวผู้ : หัว อก และลำตัวด้านบนดำเป็นมันเล็กน้อย ปีกมีแถบขาว ขอบหางคู่นอก ๆ ขาว ลำตัวด้านล่างขาว ตัวเมีย : คล้ายตัวผู้ แต่หัวและอกเทาเข้ม ลำตัวด้านบนดำไม่เหลือบ เป็นมัน
ระบบนิเวศ :
- อาคารบ้านเรือนและแหล่งชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม สวนผลไม้ สวนสาธารณะ ชายป่า และป่าโปร่ง ที่ราบถึงความสูง 1,830 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามป่าเต็งรัง ป่ารุ่น ทุ่งโล่ง สวนผลไม้ ป๋าชายเลนที่ถูกตัดฟัน และบริเวณต่างๆ ที่ใกล้บ้านเรือนคน มักเกาะอยู่ตามกิ่งก้านของต้นไม้ ไม้พุ่ม ขณะเกาะตัวผู้จะยกหางขึ้นทำมุมประมาณ 45 องศา กับลำตัว ส่วนตัวเมียไม่ค่อยยกหาง อาหารได้แก่ แมลง และตัวหนอนต่างๆ
- ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกาะ
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
- สวนยาง ทุ่งหญ้า ชายป่า ป่ายางแดง นาข้าว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่,ลำพูน,ตาก
- เลย
- สุราษฏร์ธานี
- เชียงใหม่
- พะเยา
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- กระบี่, ชุมพร, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-กรกฎาคม ทำรังตามโพรงของต้นไม้ต่างๆ ในแต่ละรังมีไข่ 4 ฟอง ไข่สีเขียวอมฟ้า มีลายจุดและลายขีดสีน้ำตาลทั่วฟองไข่ ระยะเวลาฟักไข่ 15 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิงตอนบน แม่น้ำแม่แตง แม่น้ำลี้ แม่น้ำแม่ตื่น แม่น้ำปิง
- ป่าภูหลวง
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Skin
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ