ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- แตกต่างจากลิงชนิดอื่นตรงที่มีหางยาว โดยเท่ากับความยาวของหัวและลําตัว มีขนปกคลุมร่างกายสีเทาถึงน้ำตาลแดง ลําตัวด้านล่างมีสีจางกว่าลําตัวด้านบน ขนบนกระหม่อมชี้ไปทางด้านหลังจนมักเห็นเป็นจุกแหลม ตัวผู้มีหนวดทีแก้มและเคราเหมือนลิงวอก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พบในทวีปเอเชียแถบอินโดจีน พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย ชวา ฟิลิปปินส์ บอร์เนียว และในประเทศไทยพบอยู่ทั่วไป โดยมีชุกชุมตามป่าชายเลนและริมฝั่งทะเล
- หมู่เกาะสุรินทร์
- ภูผาเทิบ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
สถานที่ชม :
- สวนสัตว์เชียงใหม่,สวนสัตว์นครราชสีมา
การกระจายพันธุ์ :
- เกือบทั่วประเทศยกเว้นภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เกือบทั่วประเทศยกเว้นภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
- พังงา
- มุกดาหาร
- กระบี่
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- ยะลา,ปัตตานี
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ระบบนิเวศ :
- ระบบนิเวศเกาะ
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- สวนยาง สวนผลไม้
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2008)
ที่มาของข้อมูล
ข้อมูลสภานภาพ CITES

CITES โลก

- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2004-07-15)

- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 1977-02-04)

CITES ไทย

- บัญชีหมายเลข II

พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ