ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (20-28 ซม.) สีดำทั้งตัวตาแดง ปากสีดำ ขาดำ ปลายหางเว้าลึก ตัวไม่เต็มวัยมีลายเกล็ดสีออกขาวบริเวณท้องและขนคลุมขนปีกด้านล่าง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ขนลำตัวดำเหลือบน้ำเงินเล็กน้อย หางแฉกลึก บางครั้งมีจุดขาวที่หัวตา นกวัยอ่อน : อกเทาเข้ม ที่ท้องและตะโพกมีสีขาวแซม
ระบบนิเวศ :
- ทุ่งนา พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่โปดโล่งต่าง ๆ ส่วนใหญ่พบในที่ราบ ในช่วงย้ายถิ่นผ่านอาจพบได้สูงถึง 2,000 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามทุ่งโล่ง ทุ่งนาและบริเวณใกล้แหล่งน้ำ นิสัยเป็นนกที่กร้าวร้าว ชอบขับไล่นกอื่นๆที่เข้ามาในถิ่นหากินของตน อาหารได้แก่ แมลงต่างๆ โดยการโฉบจับด้วยปากกลางอากาศ แต่บางครั้งก็พบจิกตามกึ่งก้านและลำต้นของไม้พุ่ม และไม้ยืนต้นขนาดใหญ่
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
- ระบบนิเวศเกษตร
- สวนยาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,ตาก,กำแพงเพชร
- เชียงใหม่
- พะเยา
- น่าน
- น่าน
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- กระบี่, พะเยา, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำแม่แตง ทะเลสาบดอยเต่า แม่น้ำปิง คลองแม่ระกา คลองสวนหมาก แม่น้ำปิงตอนล่าง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม รังเป็นรูปถ้วยดิ้นๆ ประกอบด้วยกิ่งไม้เล็กๆ ต้นหญ้า ใบไม้ และสารเยื่อใยต่างๆ เขื่อมเข้าด้วยกันด้วยใยแมงมุม ทำรังตามต้นไม้ต่างๆ โดยวางรังตามง่ามซึ่งอาจจะอยู่เกือบปลายสุดของกิ่ง ในแต่ละรังมีไข่
3-4 ฟอง ส่วนใหญ่จะมีสีขาว หรือสีครีมแกมชมพู มีลายจุด ลายดอกดวงสีดำ และน้ำตาลแกมแดง ระยะเวลาฟักไข่ 12-14 วัน
การกระจายพันธุ์ :
- นกอพยพ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ