ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
Inhabits all types of forests, plantations and gardens, including urban areas.
-
ระบบนิเวศป่าไม้, ความสูงระดับต่ำกว่า 1,000 เมตร จากระดับทะเลปานกลาง
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
-
ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เลย,หนองคาย,ชัยภูมิ,ร้อยเอ็ด,อุบลราชธานี,นคราชสีมา,สระแก้ว,จันทบุรี
-
เชียงใหม่, แม่ฮ่องสอน, หนองคาย, อุบลราชธานี, นครราชสีมา, ร้อยเอ็ด, จันทบุรี, ตราด, ฉะเชิงเทรา, กรุงเทพมหานคร, กาญจนบุรี, ภูเก็ต, สุราษฎร์ธานี, นครศรีรรมราช, นราธิวาส, ตรัง
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
พังงา
-
น่าน
-
น่าน
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
กำแพงเพชร
-
อุตรดิตถ์
-
จันทบุรี
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Loei (Phu Kradung); Nong Khai (Phu Wua); Chaiyaphum (Phu Kieo); Roi Et (Phu Pa Nam Tip); Ubon Ratchathani
(Yod Dome); Nakhon Ratchasima (Sakaerat); Srakaew
(Koklan, Pang Sida); Chanthaburi (Khao Soi Dao).
(Yod Dome); Nakhon Ratchasima (Sakaerat); Srakaew
(Koklan, Pang Sida); Chanthaburi (Khao Soi Dao).
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ป่าภูหลวง
-
หมู่เกาะสุรินทร์
-
อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นจิ้งเหลนขนาดใหญ่วัดจากปลายปากโดยตลอดยาวประมาณ 19 เซนติเมตร หางยาว 15.8 เซนติเมตร รอบตัวมีเกล็ด 34 แถว เกล็ดบนหลังมีสัน 3 สัน สันไม่เรียงต่อกันจนเห็นเป็นเส้น เกล็ดหางมีสันที่โคนหางค่อยเลือนหายไปด้านปลายหาง ตัวมีสีเทาแกมเขียวมะกอก มีเส้นดำแคบๆ ที่ขอบเกล็ดทั้งแถวเส้นข้างตัวมีสีเขียวมะกอกอ่อน ขอบของเส้นข้างตัวเป็นสีดำจางขยายเป็นสีน้ำตาลเทาไปจนจรดหาง ท้องสีเทาหรือสีขาวแกมเขียวพบเห็นตามพื้นป่าทั่วไป
ที่มาของข้อมูล
-
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 9 Amphibians and Raptiles in Thailand, 2543
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)