ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- พืชล้มลุก อายุหลายปี สูง 1-1.5 ม. ใบเป็นใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ ก้านช่อใบยาว 3-5 ซม. ใบรูปรี กว้าง 2-4 ซม. ยาว 3-8 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบมนทู่ ดอกสีเหลือง มีเส้นสีน้ำตาลแดงพาดตามยาว ออกเป็นช่อแกนที่ปลายยอด ช่อดอกยาว 15-30 ซม. ดอกบานขนาด 1.4-1.6 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนรูปไข่ปลายมน กลีบข้างคล้ายปีกรูปขอบขนาน กลีบล่างเชื่อมกันเป็นรูปท้องเรือ ปลายแหลมโค้ง เกสรผู้เป็นมัด 10 อัน อับเรณูสีส้ม ผลเป็นฝักทรงกระบอก ปลายแหลมงอน กว้าง 0.5 ซม. ยาว 3-9.5 ซม. มีขนปกคลุม ผลแก่แล้วแตก เมล็ดจำนวนมาก รูปไต ขนาด 2-4 มม. สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยงมัน
- พืชล้มลุก อายุปีเดียวหรือหลายปี สูง ๐.๔-๑ เมตร ตามกิ่ง ช่อดอก ก้านใบ และท้องใบมีขนไหมสีขาวแน่นติดกับผิว ใบ ประกอบมี ๓ ใบย่อย รูปรี-ไข่กลับ ยาว ๓-๖ เซนติเมตร ปลายใบมน ช่อดอกแบบกระจะ เป็นแท่งตั้งขึ้นยาว ๓๐-๔๐ เซนติเมตร ดอกสีเหลือง (คล้ายดอกปอเทือง แต่ใบปอเทืองจะเป็นใบเดี่ยว) มีกลีบดอกยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร มีลายของเส้นกลีบดอกสีแดง ฝักรูปทรงกระบอกห้อยลง ยาว ๑.๕-๒ นิ้ว กว้าง ๑ เซนติเมตร พบขึ้นตามที่รกร้าง ในที่โล่งแจ้งทั่วไป ทุ่งหญ้าที่มีการเลี้ยงสัตว์ พื้นที่ท้ายอ่างเก็บน้ำ ขยายพันธุ์ได้ดีด้วยเมล็ดโดยมีปศุสัตว์เป็นพาหะ
- พืชล้มลุก อายุหลายปี สูง 1-1.5 ม. ใบเป็นใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ ก้านช่อใบยาว 3-5 ซม. ใบรูปรี กว้าง 2-4 ซม. ยาว 3-8 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบมนทู่ ดอกสีเหลือง มีเส้นสีน้ำตาลแดงพาดตามยาว ออกเป็นช่อแกนที่ปลายยอด ช่อดอกยาว 15-30 ซม. ดอกบานขนาด 1.4-1.6 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนรูปไข่ปลายมน กลีบข้างคล้ายปีกรูปขอบขนาน กลีบล่างเชื่อมกันเป็นรูปท้องเรือ ปลายแหลมโค้ง เกสรผู้เป็นมัด 10 อัน อับเรณูสีส้ม ผลเป็นฝักทรงกระบอก ปลายแหลมงอน กว้าง 0.5 ซม. ยาว 3-9.5 ซม. มีขนปกคลุม ผลแก่แล้วแตก เมล็ดจำนวนมาก รูปไต ขนาด 2-4 มม. สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยงมัน
- พืชล้มลุก อายุหลายปี สูง 1-1.5 ม. ใบเป็นใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ ก้านช่อใบยาว 3-5 ซม. ใบรูปรี กว้าง 2-4 ซม. ยาว 3-8 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบมนทู่ ดอกสีเหลือง มีเส้นสีน้ำตาลแดงพาดตามยาว ออกเป็นช่อแกนที่ปลายยอด ช่อดอกยาว 15-30 ซม. ดอกบานขนาด 1.4-1.6 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนรูปไข่ปลายมน กลีบข้างคล้ายปีกรูปขอบขนาน กลีบล่างเชื่อมกันเป็นรูปท้องเรือ ปลายแหลมโค้ง เกสรผู้เป็นมัด 10 อัน อับเรณูสีส้ม ผลเป็นฝักทรงกระบอก ปลายแหลมงอน กว้าง 0.5 ซม. ยาว 3-9.5 ซม. มีขนปกคลุม ผลแก่แล้วแตก เมล็ดจำนวนมาก รูปไต ขนาด 2-4 มม. สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยงมัน
- พืชล้มลุก อายุหลายปี สูง 1-1.5 ม. ใบเป็นใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ ก้านช่อใบยาว 3-5 ซม. ใบรูปรี กว้าง 2-4 ซม. ยาว 3-8 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบมนทู่ ดอกสีเหลือง มีเส้นสีน้ำตาลแดงพาดตามยาว ออกเป็นช่อแกนที่ปลายยอด ช่อดอกยาว 15-30 ซม. ดอกบานขนาด 1.4-1.6 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนรูปไข่ปลายมน กลีบข้างคล้ายปีกรูปขอบขนาน กลีบล่างเชื่อมกันเป็นรูปท้องเรือ ปลายแหลมโค้ง เกสรผู้เป็นมัด 10 อัน อับเรณูสีส้ม ผลเป็นฝักทรงกระบอก ปลายแหลมงอน กว้าง 0.5 ซม. ยาว 3-9.5 ซม. มีขนปกคลุม ผลแก่แล้วแตก เมล็ดจำนวนมาก รูปไต ขนาด 2-4 มม. สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยงมัน
- ต้นสูง 98.74-125.48 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 9.06-17.4 มิลลิเมตร ก้านใบรวมยาว 3.88-4.54 เซนติเมตร ก้านใบข้างยาว  2-2.5 มิลลิเมตร ช่อดอกยาว 12.23-19.21 เซนติเมตร ดอกรูปดอกถั่วมี 27-44 ดอกต่อช่อ ฝักยาว 3.65-4.11 เซนติเมตร กว้าง 0.64-0.74 เซนติเมตร มี 7-16 ฝักต่อช่อ
การกระจายพันธุ์ :
- พบทั่วไปในแถบทวีปเอเชียเขตร้อน ตามป่าหญ้าข้างทาง หรือป่าผลัดใบและชายป่าดิบเขา ที่ระดับความสูงถึง 1,500 ม. ออกดอกและติดฝักช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
- พบทั่วไปในแถบทวีปเอเชียเขตร้อน ตามป่าหญ้าข้างทาง หรือป่าผลัดใบและชายป่าดิบเขา ที่ระดับความสูงถึง 1,500 ม. ออกดอกและติดฝักช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
- พบทั่วไปในแถบทวีปเอเชียเขตร้อน ตามป่าหญ้าข้างทาง หรือป่าผลัดใบและชายป่าดิบเขา ที่ระดับความสูงถึง 1,500 ม. ออกดอกและติดฝักช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
- พบทั่วไปในแถบทวีปเอเชียเขตร้อน ตามป่าหญ้าข้างทาง หรือป่าผลัดใบและชายป่าดิบเขา ที่ระดับความสูงถึง 1,500 ม. ออกดอกและติดฝักช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
- พบขึ้นอยู่ทั่วไปในสภาพพื้นที่โล่ง ชายป่า ดินร่วนปนเหนียวดินเหนียวที่มีเนื้อดินละเอียด
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- พื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย/กลุ่มป่าแก่งกระจาน (อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติกุยบุรี อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี)
ถิ่นกำเนิด :
- เขตร้อนในทวีปแอฟริกา
- ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เพชรบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,ราชบุรี
- พื้นที่ตำบลเขายายเที่ยง อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ตำบลบ้านธาตุ อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- เป็นพืชล้มลุก (annual) ลำต้นตั้งตรง แตกกิ่งย่อย การเรียงตัวของใบประกอบแบบเรียงสลับ มีใบย่อย 3 ใบ (pinnately-trifoliate ) รูปร่างใบย่อยแบบรูปไข่กลับ (obovate) โคนใบสอบ ปลายใบโค้งเว้าบุ๋ม (retuse) ปลายยอด (apex) มีติ่งเป็นเส้นสั้น ๆ หน้าใบไม่มีขน หลังใบมีขนสีขาวปกคลุมหนาแน่น สีใบเขียวเข้ม ด้านหลังใบสีเขียวอ่อนกว่าหน้าใบ ผิวใบค่อนข้างนุ่ม เส้นใบ (vein) ปลายโค้งจรดกัน (anastomosing) ขอบใบหยักแบบขนครุย (ciliate)  หูใบแหลม (filiform) เล็กสั้นสีม่วงแดง ก้านใบมีขนละเอียดคลุมหนาแน่น ลำต้นสีเขียว มีสีน้ำตาลอ่อน ๆ ด้านที่รับแสงและมีขนละเอียดคลุมอย่างหนาแน่น ออกดอกเดือน เมษายน-ธันวาคม ดอกออกที่ปลายยอดแบบช่อกระจะ (raceme) ชูขึ้น ดอกเดี่ยวเรียงตรงกันข้ามกันบนแกนช่อดอก และมีก้านยาว 2-2.5 มิลลิเมตร กลีบดอกด้านในสีเหลืองเข้ม กลีบดอกด้านนอกสีเหลืองมีลายเส้นสีม่วงแดงผ่านตามยาว ฝักรูปทรงกระบอกโค้งงอออกเล็กน้อย ปลายยอดฝักมีติ่งเป็นเส้นยาวประมาณ 7 มิลลิเมตร เส้นกลางฝักด้านนอกเป็นแนวยาวลึกลง ฝักอ่อนสีเขียว ฝักแก่สีน้ำตาลดำมีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก ฝักแก่แตก
สถานที่ชม :
- ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา
การขยายพันธุ์ :
- ขยายพันธุ์ได้ด้วยเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- เป็นอาหารสัตว์
ที่มาของข้อมูล