ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงประมาณ 20-40 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบกลม เปลือกสีน้ำตาลดำ ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมรูปหอก กว้าง 3-6 ซม. ยาว 10-14 ซม. เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนและเบี้ยว หลังใบมีต่อมอยู่ตามง่ามแขนงเส้นใบ ดอกเล็กสีขาว ออกเป็นช่อยาวๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม มีขนนุ่ม กลีบรองดอกเป็นถ้วยเล็ก กลีบดอก 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกัน ผลกลมหรือรูปไข่เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่ง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 0.6 ซม. ยาว 1 ซม.ปีกยาว 1 คู่ รูปใบพาย ปลายปีกกว้างค่อยๆ สอบเรียวมาทางโคนปีก เส้นปีกตามยาวมี 7 เส้น ปีกสั้น มีความยาวไม่เกินความยาวของตัวผล
- ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงประมาณ 20-40 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบกลม เปลือกสีน้ำตาลดำ ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมรูปหอก กว้าง 3-6 ซม. ยาว 10-14 ซม. เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนและเบี้ยว หลังใบมีต่อมอยู่ตามง่ามแขนงเส้นใบ ดอกเล็กสีขาว ออกเป็นช่อยาวๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม มีขนนุ่ม กลีบรองดอกเป็นถ้วยเล็ก กลีบดอก 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกัน ผลกลมหรือรูปไข่เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่ง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 0.6 ซม. ยาว 1 ซม.ปีกยาว 1 คู่ รูปใบพาย ปลายปีกกว้างค่อยๆ สอบเรียวมาทางโคนปีก เส้นปีกตามยาวมี 7 เส้น ปีกสั้น มีความยาวไม่เกินความยาวของตัวผล
- จัดเป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดใหญ่ ลำต้นเปลาตรง มีความสูงของต้นประมาณ 20-40 เมตร วัดรอบได้ถึงหรือกว่า 300 เซนติเมตร ลักษณะของเรือนยอดเป็นทรงพุ่มทึบ กลม หรือเป็นรูปเจดีย์แบบต่ำๆ เปลือกต้นหนาเป็นสีน้ำตาลดำ แตกเป็นสะเก็ด กะพื้นเป็นสีน้ำตาลอ่อน ส่วนแก่นไม้ตะเคียนเป็นสีน้ำตาลแดง ลักษณะของไม้ตะเคียน เนื้อไม้เป็นสีเหลืองหม่นหรือสีน้ำตาลอมสีเหลือง มักมีเส้นสีขาวหรือเทาขาวผ่านเสมอ ซึ่งเป็นท่อน้ำมันหรือยาง เนื้อไม้มีความละเอียดปานกลาง เสี้ยนมักสน ไม้แข็ง เหนียว ทนทานและเด้งตัวได้มาก
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นในพม่า ลาว ตอนใต้ของเวียดนาม กัมพูชา ไทยและมาเลเซีย พบขึ้นตามป่าดิบใกล้ลำธาร ที่ความสูง 100-800 เมตร จากระดับน้ำทะเล
- พบขึ้นในพม่า ลาว ตอนใต้ของเวียดนาม กัมพูชา ไทยและมาเลเซีย พบขึ้นตามป่าดิบใกล้ลำธาร ที่ความสูง 100-800 เมตร จากระดับน้ำทะเล
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
- อุทยานแห่งชาติ บูโด-สุไหงปาดี
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- สุรินทร์
- บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เชียงใหม่
- พิษณุโลก
- อุตรดิตถ์
- เพชรบูรณ์
- นครศรีธรรมราช
- กำแพงเพชร, ตาก
- พะเยา
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- ชัยภูมิ
- อุดรธานี, เลย, หนองคาย
- ปัตตานี
- นราธิวาส
- เลย
- อุบลราชธานี
- พะเยา, เชียงราย
- สกลนคร, กาฬสินธุ์
- เชียงราย, พะเยา
- สุโขทัย
- ชุมพร
- นครศรีธรรมราช
- ชลบุรี
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- ชุมพร, ระนอง
- ลพบุรี
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- พังงา
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- เลย
- เพชรบูรณ์
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- ชุมพร
- ตาก
- ตาก
- ยะลา, นราธิวาส
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- สุราษฎร์ธานี
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
- สุรินทร์
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- - ต้นตะเคียนทอง : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 20 - 40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กลม หรือรูปเจดีย์
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
- - ต้นตะเคียนทอง : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 20 - 40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กลม หรือรูปเจดีย์
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
- - ต้นตะเคียนทอง : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 20 - 40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กลม หรือรูปเจดีย์
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
- - ต้นตะเคียนทอง : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 20 - 40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กลม หรือรูปเจดีย์
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
- - ต้นตะเคียนทอง : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 20 - 40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กลม หรือรูปเจดีย์
- เปลือก : หนาสีน้ำตาลดำแตกเป็นสะเก็ด กระพี้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลอมเหลือง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวรูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนป้านและเบี้ยว หลังใบมีตุ่มเกลี้ยง ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน
- ดอก : ออกดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อยาวตามง่ามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม
- ผล รูปไข่ เกลี้ยง ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ขยายตัวออกเป็นปีก รูปใบพาย
- ใบ - เป็นใบเดี่ยว ลักษณะของใบเป็นรูปไข่แกมรูปใบหอกหรือรูปดาบ ปลายใบเรียว ส่วนโคนใบมนป้านและเบี้ยว ใบมีขนาดกว้างประมาณ 3-6 เซนติเมตรและยาวประมาณ 10-15 เซนติเมตร แผ่นใบบางแต่ค่อนข้างเหนียว หลังใบเกลี้ยงเป็นมัน ท้องใบมีตุ่มหูดหรือตุ่มดอมเมเซียเกลี้ยง ๆ อยู่ตามง่ามแขนงของใบ ใบมีเส้นแขนงใบประมาณ 9-13 คู่ ปลายโค้งแต่ไม่จรดกัน เชื่อมใบย่อยเชื่อมกันเป็นขั้นบันไดส่วนหูใบมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม
ดอก - ออกดอกเป็นช่อยาวแบบช่อแยกแขนงตามปลายกิ่งและตามง่ามใบ มีดอกย่อยอยู่ช่อละประมาณ 40-50 ดอก ช่อดอกมีความยาวประมาณ 5-7 เซนติเมตร ดอกเป็นสีเหลืองแกมสีน้ำตาลขนาดเล็ก มีกลิ่นหอมและมีขนนุ่ม ดอกมีกลีบดอก 5 กลีบ เมื่อดอกบานเต็มที่กลีบดอกจะบิดเป็นกงจักร มีขนาดของดอกประมาณ 0.3-1 เซนติเมตร กลีบดอก 3-5 มิลลิเมตร ปลายกลีบดอกหยัก ส่วนล่างกลีบบิดและเชื่อมติดกัน ดอกมีเกสรตัวผู้ 15 อัน อับเรณูมียอดแหลม ส่วนเกสรตัวเมียมีรังไข่เหนือวงกลีบ ลักษณะเรียวเล็ก มีความยาวเท่ากับรังไข่ เมื่อหลุดจะร่วงทั้งชั้นรวมทั้งเกสรตัวผู้ติดไปด้วย และดอกยังมีกลีบเลี้ยงขนาดเล็ก 5 กลีบ โดยจะออกดอกในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม แต่จะไม่ออกดอกทุกปี และช่วงที่ดอกออกมากจะมีประมาณ 3-5 ครั้งต่อปี
ผล - ผลเป็นผลแห้งไม่แตก ผลเป็นสีเขียวอ่อน เมื่อสุกจะเป็นสีน้ าตาลเข้ม ผลมีลักษณะกลมหรือเป็นรูปไข่เกลี้ยง ผลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.6 เซนติเมตร (มีขนาดไม่เกิน 1 เซนติเมตร) ปลายมนเป็นติ่งคล้ายหนามแหลม มีปีกยาว 1 คู่ ลักษณะเป็นรูปใบพาย ยาวประมาณ 4-6 เซนติเมตร ปลายปีกกว้างประมาณ 1 เซนติเมตร และค่อยๆ เรียวสอบมาทางด้านโคนปีก เส้นปีกตามยาวประมาณ 9-11 เส้น และยังมีปีกสั้นอีก 3 ปีกซ้อนกัน มีความยาวไม่เกินความยาวของตัวผลหรือยาวน้อยกว่า 0.5 เซนติเมตร ปีกจะซ้อนกันอยู่ แต่จะหุ้มส่วนกลางผลไม่มิด โดยในหนึ่งผลจะมีเมล็ด 1 เมล็ด เมล็ดมีลักษณะค่อนข้างกลมสีน้ำตาล
โดยปลีกเหล่านี้จะมีหน้าที่ห่อหุ้มผลและสามารถพาผลให้ปลิวไปตามลมได้ไกลออกไปจากต้นแม่ และจะเป็นผลในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน
การขยายพันธุ์ :
- การผลิตกล้าจากเมล็ด
- การผลิตกล้าจากเมล็ด
- การผลิตกล้าจากเมล็ด
- การผลิตกล้าจากเมล็ด
- การผลิตกล้าจากเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,เชื้อเพลิง,ไม้เนื้อแข็ง ทำไม้หมอนรถไฟ เรื่องเรือน และก่อสร้างอื่น ๆ ชัน ผสมน้ำมันใช้ยาแนวเรือหรือเคลือบเงา มีสรรพคุณทางสมุนไพรรักษาแผลสด เปลือกใช้เคี้ยวแทนหมาก แก้ปวดฟัน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ