ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้เถา มีขนประปรายกระจายทั่วไป ขนหนาแน่นตามช่อดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก และผล หูใบยาว 3–5 มม. ใบประกอบมีใบย่อย 8–16 คู่ ก้านใบยาว 0.5–2 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนาน ยาว 0.5–2 ซม. ปลายตัด มีติ่งหรือมน โคนกลม ก้านใบยาวประมาณ 1 มม. ช่อดอกยาว 2–8 ซม. ใบประดับและใบประดับย่อยยาว 0.5–1 มม. ดอกสีม่วง กลีบกลางรูปรี ยาวประมาณ 1 ซม. มีก้าน ปลายเว้า กลีบปีกและคู่ล่างเรียวแคบกว่า รังไข่และก้านเพศเมียมีขนหนาแน่น ฝักรูปขอบขนาน ยาว 2–4 ซม. มี 2–6 เมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 มม. โคนสีดำ ช่วงปลายสีแดง
- ไม้เถาเลื้อย ขนาดเล็ก ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อยออกเป็นคู่ รูปขอบขนาน โคนและปลายมน ขอบใบเรียบ ขนาดกว้าง 0.5-0.8 ซม. ยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นแกนช่อตามง่ามใบ ลักษณะคล้ายดอกถั่ว ดอกย่อยขนาด 0.5-1.5 ซม. กลีบดอกสีชมพูแกมม่วง ผลเป็นฝักเวียน มีรอยคอดชัดเจน เมื่อแก่ฝักจะแตกออกตามยาวและบิดเพื่อกระจายเม็ด เมล็ดสีแดงสด มีขั้วสีดำเห็นชัดเจน ผิวเรียบเป็นมันแข็ง ค่อนข้างกลมขนาดผ่าศูนย์กลาง 3-5 มม.
- ไม้เถาเลื้อย ขนาดเล็ก ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อยออกเป็นคู่ รูปขอบขนาน โคนและปลายมน ขอบใบเรียบ ขนาดกว้าง 0.5-0.8 ซม. ยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นแกนช่อตามง่ามใบ ลักษณะคล้ายดอกถั่ว ดอกย่อยขนาด 0.5-1.5 ซม. กลีบดอกสีชมพูแกมม่วง ผลเป็นฝักเวียน มีรอยคอดชัดเจน เมื่อแก่ฝักจะแตกออกตามยาวและบิดเพื่อกระจายเม็ด เมล็ดสีแดงสด มีขั้วสีดำเห็นชัดเจน ผิวเรียบเป็นมันแข็ง ค่อนข้างกลมขนาดผ่าศูนย์กลาง 3-5 มม.
- ไม้เถาเลื้อย ขนาดเล็ก ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อยออกเป็นคู่ รูปขอบขนาน โคนและปลายมน ขอบใบเรียบ ขนาดกว้าง 0.5-0.8 ซม. ยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นแกนช่อตามง่ามใบ ลักษณะคล้ายดอกถั่ว ดอกย่อยขนาด 0.5-1.5 ซม. กลีบดอกสีชมพูแกมม่วง ผลเป็นฝักเวียน มีรอยคอดชัดเจน เมื่อแก่ฝักจะแตกออกตามยาวและบิดเพื่อกระจายเม็ด เมล็ดสีแดงสด มีขั้วสีดำเห็นชัดเจน ผิวเรียบเป็นมันแข็ง ค่อนข้างกลมขนาดผ่าศูนย์กลาง 3-5 มม.
- ไม้เถาเลื้อย ขนาดเล็ก ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อยออกเป็นคู่ รูปขอบขนาน โคนและปลายมน ขอบใบเรียบ ขนาดกว้าง 0.5-0.8 ซม. ยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นแกนช่อตามง่ามใบ ลักษณะคล้ายดอกถั่ว ดอกย่อยขนาด 0.5-1.5 ซม. กลีบดอกสีชมพูแกมม่วง ผลเป็นฝักเวียน มีรอยคอดชัดเจน เมื่อแก่ฝักจะแตกออกตามยาวและบิดเพื่อกระจายเม็ด เมล็ดสีแดงสด มีขั้วสีดำเห็นชัดเจน ผิวเรียบเป็นมันแข็ง ค่อนข้างกลมขนาดผ่าศูนย์กลาง 3-5 มม.
- ไม้เถาเลื้อย ขนาดเล็ก ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อยออกเป็นคู่ รูปขอบขนาน โคนและปลายมน ขอบใบเรียบ ขนาดกว้าง 0.5-0.8 ซม. ยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นแกนช่อตามง่ามใบ ลักษณะคล้ายดอกถั่ว ดอกย่อยขนาด 0.5-1.5 ซม. กลีบดอกสีชมพูแกมม่วง ผลเป็นฝักเวียน มีรอยคอดชัดเจน เมื่อแก่ฝักจะแตกออกตามยาวและบิดเพื่อกระจายเม็ด เมล็ดสีแดงสด มีขั้วสีดำเห็นชัดเจน ผิวเรียบเป็นมันแข็ง ค่อนข้างกลมขนาดผ่าศูนย์กลาง 3-5 มม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบตั้งแต่อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทบพบขึ้นทั่วไปตามป่าเปิดหรือในที่โล่ง จะทิ้งใบในหน้าแล้ง
- พบตั้งแต่อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทบพบขึ้นทั่วไปตามป่าเปิดหรือในที่โล่ง จะทิ้งใบในหน้าแล้ง
- พบตั้งแต่อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทบพบขึ้นทั่วไปตามป่าเปิดหรือในที่โล่ง จะทิ้งใบในหน้าแล้ง
- พบตั้งแต่อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทบพบขึ้นทั่วไปตามป่าเปิดหรือในที่โล่ง จะทิ้งใบในหน้าแล้ง
- พบตั้งแต่อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทบพบขึ้นทั่วไปตามป่าเปิดหรือในที่โล่ง จะทิ้งใบในหน้าแล้ง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- มะกล่ำตาหนูเป็นพรรณไม้เถา ลำต้นเล็ก มีขนสั้น ๆ ขึ้นประปราย ใบเป็นใบรวม มีใบย่อยเรียงสลับกันคล้ายขนนก ยาวประมาณ 3.8-10 ซม. ใบย่อยเป็นรูปกลมถึงรี ปลายใบแหลมมน โคนใบกลมมน ขอบใบเรียบ ผิวใบเกลี้ยง ใบมีขนาดยาว 5-20 ม.ม. กว้างประมาณ 3-8 ม.ม. ใต้ท้องใบมีขนเล็กน้อย ดอกเป็นช่อตามบริเวณง่ามใบ ดอกมีกลีบเลี้ยงเป็นสีเขียวเรียงซ้อนกันตามเข็มนาฬิกา กลีบมีรอยหยัก 4 รอย สีขาว ผิวข้างนอกมีขนนุ่มปกคลุม ผลเป็นฝัก พองเป็นคลื่นเมล็ด ฝักเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ฝักอ่อนมีสีเขียว เนื้อเปลือกฝักจะเหนียว เมื่อแก่จะแตกอ้าออกจากกัน ข้างในมีเมล็ด 1-5 เมล็ด เมล็ดเป็นรูปกลมรี สีแดง บริเวณขั้วมีจุดสีดำ ผิวเรียบเกลี้ยง เมล็ดเหนียวและแข็ง
- มะกล่ำตาหนูเป็นพรรณไม้เถา ลำต้นเล็ก มีขนสั้น ๆ ขึ้นประปราย ใบเป็นใบรวม มีใบย่อยเรียงสลับกันคล้ายขนนก ยาวประมาณ 3.8-10 ซม. ใบย่อยเป็นรูปกลมถึงรี ปลายใบแหลมมน โคนใบกลมมน ขอบใบเรียบ ผิวใบเกลี้ยง ใบมีขนาดยาว 5-20 ม.ม. กว้างประมาณ 3-8 ม.ม. ใต้ท้องใบมีขนเล็กน้อย ดอกเป็นช่อตามบริเวณง่ามใบ ดอกมีกลีบเลี้ยงเป็นสีเขียวเรียงซ้อนกันตามเข็มนาฬิกา กลีบมีรอยหยัก 4 รอย สีขาว ผิวข้างนอกมีขนนุ่มปกคลุม ผลเป็นฝัก พองเป็นคลื่นเมล็ด ฝักเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ฝักอ่อนมีสีเขียว เนื้อเปลือกฝักจะเหนียว เมื่อแก่จะแตกอ้าออกจากกัน ข้างในมีเมล็ด 1-5 เมล็ด เมล็ดเป็นรูปกลมรี สีแดง บริเวณขั้วมีจุดสีดำ ผิวเรียบเกลี้ยง เมล็ดเหนียวและแข็ง
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด และปักชำกิ่ง
- เพาะเมล็ด และปักชำกิ่ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ชุมพร
- ราชบุรี
- ลำปาง
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- สุรินทร์
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- งานศิลปะ