ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- คิ้วยาวสีขาวหรือขาวแกมเหลือง หัวและท้ายทอยเทา แตกต่างจากหลังและลำตัวด้านบนสีเขียวคล้ำตะโพกสีอ่อนกว่าส่วนอื่นเล็กน้อย ปีกมีแถบแคบๆ 2 แถบ หรืออาจเห็นชัดเพียงแถบเดียว ขาสีชมพูอ่อนหรือสีเนื้อ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- คิ้วยาวสีขาวหรือขาวแกมเหลือง หัวและท้ายทอยเทา แตกต่างจากหลังและลำตัวด้านบนสีเขียวคล้ำ ตะโพกสีอ่อนกว่าส่วนอื่นเล็กน้อย ปีกมีแถบแคบ ๆ 2 แถบ หรืออาจเห็นชัดเพียงแถบเดียว ขาสีชมพูอ่อนหรือสีเนื้อ
ระบบนิเวศ :
- หากินตามพุ่มไม้ใกล้พื้นดินในป่า ป่าโปร่ง ป่าไผ่ และชายป่า ช่วงอพยพอาจพบในป่าชายเลน สวนผลไม้ และสวนสาธารณะ ที่รบถึงความสูง 1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- หากินตามพุ่มไม้ใกล้พื้นดิน ในป่าดิบ ป่าโปร่ง ป่าไผ่และชายป่า ช่วงอพยพผ่านอาจพบใน สวนผลไม้และสวนสาธารณะ
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- สวนยาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- เลย
- มุกดาหาร
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- กรุงเทพมหานคร
- สุราษฎร์ธานี, นครสวรรค์, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าภูหลวง
- ภูผาเทิบ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
การกระจายพันธุ์ :
- นกอพยพ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Skin
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ