ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดเล็กมาก (13 ซม.) บริเวณกระหม่อมมีหงอนขนขนาดสั้น หัว คอหอยและอกเป็นสีเทา ด้านบนลำตัวสีเขียวแกมเหลือง และด้านล่างลำตัวสีเหลืองหรือสีทอง
-
หัวมีหงอนสั้นตั้งเป็นสัน หัวและอกสีเทา ตัดกับลำตัวด้านบนและหางสีเขียวแกมเหลือง ตะโพกและลำตัวด้านล่างสีเหลือง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
หัวมีหงอนสั้นตั้งเป็นเส้น หัวและอกเทา ตัดกับลำตัวด้านบนและหางเขียวแกมเหลือง ตะโพกและลำตัวด้านล่างเหลือง
ระบบนิเวศ :
-
ป่าดิบ ป่าโปร่ง ชายป่า ช่วงอพยพพบในป่าชายเลน สาวนสาธารณะ ที่ราบถึงความสูง 2,565 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
-
มักพบตามป่าเบญจพรรณ ป่าคงดิบขึ้น ป่าดงดิบเขา แต่ก็อาจพบได้ในพื้นราบ นิสัยเป็นนกค่อนข้างเชื่อง อาหารได้แก่ แมลงต่างๆ โดยการโฉบจับแมลงกลางอากาศ
-
ป่าดิบ ป่าโปร่ง ชายป่า ช่วงอพยพอาจพบในสวนสาธารณะ
-
ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
มุกดาหาร
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
กำแพงเพชร
-
อุตรดิตถ์
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
พะเยา
-
เชียงใหม่
-
พิษณุโลก
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์
-
สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน ทำรังเป็นรูปถ้วยครึ่งซีก ประกอบด้วยมอสส์ และไลเคนส์เชื่อมเข้าด้วยกันด้วยใยแมงมุมตามก้อนหิน หรือกิ่งไม้ในระดับเกือบติดดิน ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ไข่สีเนื้ออ่อน มีลายดอกดวงหรือ
ลายขีดสีเทา ระยะเวลาฟักไข่ 11-12 วัน
ลายขีดสีเทา ระยะเวลาฟักไข่ 11-12 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ป่าภูหลวง
-
ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 18 Birds of Dry and Semi-Humid Ecosystem, 2550
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมป่าไม้
-
IUCN Red List
-
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชินี (สถานตากอากาศบางปู)
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |