ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (20 ซม.) ปากยาวเรียวโค้ง รูปร่างเพรียว ปีกยาวแหลม ขนคลุมลำตัวสีดำ กระหม่อมและท้ายทอยมีสีเหลืองทอง บริเวณคางสีฟ้า คอสีเขียว และมีแถบสีดำพาดอยู่ ปากมีแถบสีดำพาดผ่านไปยังตาลงมาจนถึงท้ายทอย ที่ปลายห่างจะมีขนคู่กลาง
ยื่นยาวออกมาเห็นได้ชัดเจน
- ลำตัวเขียวสด หัว ท้ายทอยสีส้มแกมน้ำตาล แถบตามีสีดำ ใต้แถบตาสีฟ้า อกมีแถบดำโค้งครึ่งวงกลม หางคู่กลางแหลมยาว
- มีขนาดประมาณ 20 เซนติเมตร ลำตัวเขียวสด หัวและท้ายทอยสีส้มแกมน้ำตาล แถบตาดำ ใต้แถบตาสีฟ้า อกมีแถบดำโค้งครึ่งวงกลม หางคู่กลางแหลมยาว
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ลำตัวเขียวสด หัวและท้ายทอยสีส้มแกมน้ำตาล แถบตาดำ ใต้แถบตาสีฟ้า อกมีแถบดำโค้งครึ่งวงกลม หางคู่กลางแหลมยาว
ระบบนิเวศ :
- พื้นที่แห้งแล้งและพื้นที่เกษตรเปิดโล่ง
- พบตามทุ่งโล่ง กินแมลงต่างๆ เป็นอาหาร โดยเฉพาะผึ้ง ด้วยการโฉบจับกลางอากาศ แล้วนำมากินบริเวณที่เกาะ
- พื้นที่แห้งแล้งและเกษตรกรรมเปิดโล่ง
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,ตาก
- มุกดาหาร
- พะเยา
- น่าน
- ฉะเชิงเทรา
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่งัด ทะเลสาบดอยเต่า แม่น้ำปิง
- ภูผาเทิบ
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย, ป่าคำหัวแฮด, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงภู, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน), ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเทือกเขาแม่นางขาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้), ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าควนออกบ้านน้ำตก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน ทำรังตามฝั่งแม่น้ำ ลำคลองหรือเนินดิน โดยการขุดโพรงลึกเข้าไปตามริมตลิ่ง ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 5-6 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 13-14 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Ubon ratchathani
NSM Prachuap khiri khan
NSM Prachuap khiri khan
NSM Prachuap khiri khan
NSM Loei
NSM Nan
NSM Nan
NSM Nan
NSM Nan
NSM Nan
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Prachuap khiri khan
NSM Rayong
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ