ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
สีขาวตลอดตัว คอยาว ปากยาวแหลมสีเหลือง ตาเหลือง ไม่มีเปีย ขาและนิ้วเท้าดำ ในฤดูผสมพันธุ์มีขนประดับเป็นเส้นยาว ๆ อยู่บนหลังและยาวเลยหางออกไปเล็กน้อย นกยางโทนทั้งตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายกัน ในฤดูผสมพันธ์ปากจะมีสีดำ
-
นก
-
ขนาด 85-102 เซนติเมตร เป็นนกยางขนาดใหญ่ ปากตรง
เรียวแหลมสีเหลือง หนังโคนปากใกล้ดวงตามีลักษณะเป็นตัว “V” สีเหลืองเขียว ส่วนกลางลำคอเป็นรอยหักโค้งเป็นรูปตัว “S” ขนปกคลุมลำตัวด้านบนและด้านล่างสีขาว แข้งและตีนสีดำ ฤดูผสมพันธุ์ ปากสีดำ หนังโคนปากเปลี่ยนเป็นสีฟ้าเข้ม อกและหลังมีขนเส้นเล็กๆ งอกยาวออกมาเป็นพู่ แข้งและตีนสีแดง เสียงร้อง “กร๊า..ก..ก”
เรียวแหลมสีเหลือง หนังโคนปากใกล้ดวงตามีลักษณะเป็นตัว “V” สีเหลืองเขียว ส่วนกลางลำคอเป็นรอยหักโค้งเป็นรูปตัว “S” ขนปกคลุมลำตัวด้านบนและด้านล่างสีขาว แข้งและตีนสีดำ ฤดูผสมพันธุ์ ปากสีดำ หนังโคนปากเปลี่ยนเป็นสีฟ้าเข้ม อกและหลังมีขนเส้นเล็กๆ งอกยาวออกมาเป็นพู่ แข้งและตีนสีแดง เสียงร้อง “กร๊า..ก..ก”
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
นกยางโทนใหญ่มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย จีนไหหลำ ไต้หวัน หมู่เกาะ อันดามัน ซุนดา ฟิลิปปินส์ ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย สำหรับประเทศไทยมีทุกภาค ตามหนองคลองบึงที่น้ำท่วมถึง และตามท้องนาในฤดูฝน เป็นนกประจำถิ่นที่พบได้บ่อยและมีบางส่วนเป็นนกอพยพเข้ามาในช่วงฤดูหนาว
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร
-
พรุลานควาย
-
เชียงราย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ปากเหลือง หนังหน้าเขียวแกมเหลือง คล้ายนกยางโทนน้อย แต่มุมปากลึกเลยตำแหน่งดวงตาเข้าไป หัวค่อนข้างเล็ก คอเรียวยาว ขาและตีนดำ ขนชุดผสมพันธุ์ : หนังที่หน้าฟ้าเข้ม ปากดำสนิท ขาแดงคล้ำโดยเฉพาะน่อง อกและหลังมีคนเจ้าชู้ยาวออกมา โดยเฉพาะขนหลังจะยาวมาก
ระบบนิเวศ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม
-
ทุ่งหญ้า นาข้าว แอ่งน้ำขังในพรุ
-
นกน้ำที่พบในระบบนิเวศแมน้ำ หนองน้ำ พื้นที่ชุมน้ำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
พิษณุโลก
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
ชุมพร
-
ยะลา,ปัตตานี
-
สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
การกระจายพันธุ์ :
-
นกอพยพ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
-
กรมป่าไม้
-
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
คู่มือจำแนกชนิดพันธุ์นกน้ำ ในระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำแม่น้ำอิงตอนล่าง, 2566, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชินี (สถานตากอากาศบางปู)