ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (25 ซม.) ขนคลุมขนปีกด้านล่างสีขาว สีสันของร่างกายเป็นสีน้ำตาลเข้ม โดยบริเวณหัว คอหอย และอกตอนบนจะเป็นสีดำ ปาก วงรอบเบ้าตาและนิ้วสีเหลือง ขนคลุมโคนขนหางด้านล่างสีขาว ตาสีแดง-น้ำตาลแดง ขณะที่บินจะเห็นลายพาดสีขาวบริเวณโคนของขนปลายปีก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- หัวและอกดำแกมน้ำตาล ปากและหนังรอบตาเหลือง ลำตัวน้ำตาลเข้ม กลางท้องและก้นขาว ขนปีกบินดำมีแถบขาว ขณะบินใต้ปีกขาว ปีกบนมีแถบขาวเป็นวงใหญ่ แข้งและตีนเหลือง นกวัยอ่อน : หัวและอกน้ำตาล บางตัวหัวอาจล้านเห็นหนังสีเหลือง
ระบบนิเวศ :
- พื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่เปิดโล่งต่าง ๆ แหล่งชุมชน ที่ราบถึงความสูง 1,525 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามทุ่งโล่ง แหล่งกสิกรรม แหล่งชุมชน พบเป็นคู่หรือฝูง หากินตามพื้นดิน อาจเป็นที่ขึ้นแฉะ อาหารส่วนใหญ่เป็นแมลง ตัวหนอน สัตว์ขนาดเล็ก ธัญพืช และอาจหากินตามกิ่งก้านของต้นไม้ด้วย
- ระบบนิเวศเกาะ
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
- สวนยาง ทุ่งหญ้า ชายป่า ป่ายางแดง นาข้าว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- สุราษฏร์ธานี
- เชียงใหม่
- พะเยา
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- กระบี่
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- กระบี่, ชุมพร, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนพฤษภาคม-กันยายน วางรังตามคอต้นตาล มะพร้าว ปาล์ม โดยใช้ใบไม้ ใบหญ้า มาวางช้อนทับกัน แต่ละรังมีไข่ 4-5 ฟอง ไข่สีน้ำเงิน ใช้เวลาฟักไข่ 17-18 วัน
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร, ช่วยในการกระจายพันธุ์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ