ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,ตาก,กำแพงเพชร
- สุราษฏร์ธานี
- เชียงใหม่
- อุบลราชธานี
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- เชียงใหม่
- จันทบุรี
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, ลำพูน, นครสวรรค์
- ยะลา,ปัตตานี
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่ตื่น แม่น้ำปิง คลองแม่ระกา คลองสวนหมาก
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- ผาแต้ม
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์
- พรุลานควาย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดกลาง (51 ซม.) มีสีดำทั้งตัวและมองเห็นเป็นมันเมื่อมีแสงจัด ปากใหญ่แบนข้าง สันขากรรไกรบนโค้งมาก ตาสีดำแข้งและตีนสีดำ
- ขนลำตัวสีดำสนิท ปากใหญ่ ยาว หนาเป็นสัน หน้าผากตั้งเป็นมุมฉากกับปาก
ระบบนิเวศ :
- พบตามทุ่งโล่ง ในเมือง และป่าโปร่ง ออกหากินแต่เช้าตรู่ และกลับรังหรือแหล่งอาศัยก็เกือบเย็นค่ำ เป็นนักสะสมอาหาร โดยจะนำอาหารต่างๆ ที่หามาได้ซ่อนตามโพรงของและสิ่งก่อสร้างต่างๆ หรือบางครั้งก็ขุดดินฝังเอาไว้ กินทุกสิ่งทุกอย่าง โดยเฉพาะผลไม้ แมลง ตัวหนอน ไข่ ลูกนก กบ เขียด กิ้งก่า แย้ และซากสัตว์ต่างๆ
- แหล่งชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม ชายป่า
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกาะ
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
- สวนยาง ทุ่งหญ้า ชายป่า ป่ายางแดง นาข้าว
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มิถุนายน รังเป็นแบบง่ายๆ โดยใช้กิ่งไม้ต่างๆ มาวางซ้อนทับกัน ทำตรงกลางให้เป็นแอ่ง ไข่สีเขียวแกมน้ำเงิน มีลายขีดสีน้ำตาล ในแต่ละรังมีไข่ 2-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ทั้งสิ้น 17-19 วัน
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ส่วนประกอบพิธีกรรมและความเชื่อ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ