ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (22-23 ซม.) หัว คอหอยและอกตอนบนสีเทา ด้านบนลำตัวสีเทาแกมน้ำตาล หางสีดำ ด้านข้างของหางมีลายพาดเล็กๆ สีขาว ด้านล่างลำตัวส่วนที่เหลือสีเนื้อแกมสีน้ำตาล ตัวเมียมีภาวะรูปร่างสองแบบ คือแบบสีน้ำตาล โดยด้านบนลำตัวและคอหอยสีน้ำตาลแกมน้ำตาลแดงเข้ม มีลายพาดสีดำบริเวณหลัง ด้านล่างลำตัวสีขาวมีลายละเอียดสีดำพาด อีกแบบหนึ่งเป็นแบบสีจางซึ่งมีลักษณะดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- หนังรอบตาเทา หัว คอถึงอกตอนบนสีเทา หลัง ปีกเทาเข้ม หางดำ ขอบหางมีลายขาว อกตอนล่างถึงก้นน้ำตาลแดง ตัวเมียชุดขนสีน้ำตาล : คล้ายนกคัดคูลาย แต่คิ้วบางกว่า คอและอกสีน้ำตาลแดง
ระบบนิเวศ :
- สวน พื้นที่เปิดโล่ง และพื้นที่เกษตรกรรม ที่ราบถึงความสูง 1,800 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามป่าเบญจพรรณ สวนผลไม้และบริเวณที่กสิกรรม อาหารได้แก่ ตัวหนอนและแมลงต่างๆ ด้วยการจิกตามกิ่งไม้และยอดไม้ บางครั้งก็บินโฉบจับบนพื้นดิน
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- กำแพงเพชร
- น่าน
- สระแก้ว
- อุตรดิตถ์
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- เชียงใหม่
- จันทบุรี
- พิษณุโลก
- บุรีรัมย์
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- กระบี่, ชุมพร, ระนอง, เชียงราย
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
การขยายพันธุ์ :
- การผสมพันธุ์ เป็นนกปรสิต ไม่สร้างรังและเลี้ยงลูกตนเอง ฤดูผสมพันธุ์ขึ้นอยู่กับฤดูผสมพันธุ์ของนกเจ้าของรัง สีของไข่คล้ายกับสีไข่ของเจ้าของรัง ปกติวางไข่เพียง 1 ฟอง
ในแต่ละรัง ระยะเวลาฟักไข่สั้นกว่าเจ้าของรัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ลุ่มน้ำปิง, คลองแม่ระกา
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- เลี้ยงไว้ดูเล่น
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ