ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (28 ซม.) ลำตัวป้อม หัวใหญ่คอและหางสั้น ปากแบนข้างสีแดงสด หัว หลัง และท้องมีสีน้ำตาลแดงเข้มตัดกับคอและอกที่เป็นสีขาว ปีก หาง และขนคลุมลำตัวเป็นสีฟ้าอมเขียวสดใส
- มีขนาดประมาณ 27-29.5 เซนติเมตร หัวหลังตอนบน ไหล่ และท้องสีน้ำตาลเข้ม คอและอกขาว ปากแดงสด ปีก หลัง และหางฟ้าเข้ม หลังตอนล่างและตะโพกฟ้าวาว ขาและตีนแดง ขณะบินมีแถบขาวใหญ่ที่ปีก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- หัว หลังตอนบน ไหล่ และท้องสีน้ำตาลเข้ม คอและอกขาว ปากแดงสด ปีก หลัง และหางฟ้าเข้ม หลังตอนล่างและตะโพกฟ้าวาว แข้งและตีนแดง ขณะบินมีแถบขาวใหญ่ที่ปีก
ระบบนิเวศ :
- ทุ่งนา แหล่งน้ำในที่โล่งถึงระดับความสูง 1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง สามารถพบในพื้นที่แห้งแล้งกว่าชนิดอื่น
- พบตามแหล่งน้ำทั่วไป กินสัตว์น้ำต่างๆ โดยการเกาะตามกิ่งไม้ ตอไม้ หรือสายไฟ แล้วบินโฉบจับด้วยปาก อาจจะกินแมลงและสัตว์ขนาดเล็กต่างๆ ด้วย
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,ตาก,กำแพงเพชร
- เลย
- เชียงใหม่
- พะเยา
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- ฉะเชิงเทรา
- สถานตากอากาศบางปู จ.สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำแม่แตง แม่น้ำปิง คลองแม่ระกา
- ป่าภูหลวง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ป่าหนองแปน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขากระยาง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน), ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้), ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเป้ง, ป่าสงวนแห่งชาติป่าสีสุก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย, ป่าสงวนแห่งชาติป่านาซาวฝั่งซ้ายถนนแพร่-น่าน, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเลนคลองปะเหลียนและป่าคลองท่าบ้า, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร, ป่าสงวนแห่งชาติป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม , ป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองกาโหรดและป่าคลองหิน
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ทำรังตามฝั่งแม่น้ำ ลำคลอง หรือเนินดิน โดยใช้ปากและเล็บขุดดินให้เป็นโพรง ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 4-6 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 16-17 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Chon buri
NSM Phetchaburi
NSM Prachuap khiri khan
NSM Mae hong son
NSM Mae hong son
NSM Mae hong son
NSM Mae hong son
NSM Phatthalung
NSM -
NSM Loei
NSM -
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Prachuap khiri khan
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Tak
NSM Kanchanaburi
NSM Kanchanaburi
NSM Phangnga
NSM Phangnga
NSM Chiang mai
NSM -
NSM -
NSM Phetchabun
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ