ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิงตอนบน แม่น้ำแม่ริม แม่น้ำปิง ทะเลสาบดอยเต่า แม่น้ำแม่ตื่น ห้วยแม่ท้อ
- ป่าภูหลวง
- นาข้าว ดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- ฝายบางบ้า
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ส่วนหัวค่อนข้างโต รูปร่างทรงกระบอกยาวครีบหางเรียวปลายมน ปากกว้าง มีฟันเขี้ยวบนเพดานชัด ตัวสีคล้ำอมเขียวมะกอกหรือน้ำตาลอ่อน มีลายเล้นทะแยงสีคล้ำตลอดลำตัว 6-7 ลาย ด้านท้องสีจางตัดกับด้านบนชัด ครีบสีคล้ำมีขอบสีเหลืองอ่อน ครีบท้องสีจาง ขนาดพบใหญ่สุดถึง 80 เซนติเมตร พบทั่วไป 30-40 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์ :
- อาศัยในทุกแหล่งน้ำทั่วประเทศ พบไปถึงอินเดีย พม่า และอินโดนีเซีย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พรุซับจำปา, พรุคันธุลี, พรุไม้ขาว, พรุโต๊ะแดง, พรุในภาคตะวันออก
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,ตาก
- เลย
- เชียงใหม่
- พะเยา,แพร่,น่าน,อุตรดิตถ์
- พิษณุโลก
- กระบี่, ลำพูน, เชียงราย
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ระบบนิเวศ :
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
alcohol
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ