ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 4-10 เมตร มียางเหลือง ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอก สีเหลือง แยกเพศอยู่ร่วมต้น ดอกเพศผู้อยู่รวมกันเป็นช่อ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมียอยู่เดี่ยวหรือออกเป็นช่อ 2-3 ดอก รังไข่กลม ผล เป็นผลสดสด รูปกลมหรือเบี้ยวเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4.5 ซม. เป็นร่องตามยาวโดยรอบ
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 4-10 เมตร มียางเหลือง ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอก สีเหลือง แยกเพศอยู่ร่วมต้น ดอกเพศผู้อยู่รวมกันเป็นช่อ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมียอยู่เดี่ยวหรือออกเป็นช่อ 2-3 ดอก รังไข่กลม ผล เป็นผลสดสด รูปกลมหรือเบี้ยวเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4.5 ซม. เป็นร่องตามยาวโดยรอบ
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 4-10 เมตร มียางเหลือง ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอก สีเหลือง แยกเพศอยู่ร่วมต้น ดอกเพศผู้อยู่รวมกันเป็นช่อ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมียอยู่เดี่ยวหรือออกเป็นช่อ 2-3 ดอก รังไข่กลม ผล เป็นผลสดสด รูปกลมหรือเบี้ยวเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4.5 ซม. เป็นร่องตามยาวโดยรอบ
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 4-10 เมตร มียางเหลือง ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอก สีเหลือง แยกเพศอยู่ร่วมต้น ดอกเพศผู้อยู่รวมกันเป็นช่อ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมียอยู่เดี่ยวหรือออกเป็นช่อ 2-3 ดอก รังไข่กลม ผล เป็นผลสดสด รูปกลมหรือเบี้ยวเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4.5 ซม. เป็นร่องตามยาวโดยรอบ
การกระจายพันธุ์ :
-
นิเวศวิทยา พบตามป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1,500 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
-
นิเวศวิทยา พบตามป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1,500 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
-
นิเวศวิทยา พบตามป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1,500 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
-
นิเวศวิทยา พบตามป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1,500 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโต๊ะแดง)
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลน้อย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่ากราด
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หนองทุ่งทอง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพลิ้ว
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ตะไคร้
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แพร่,น่าน
-
สงขลา
-
จันทบุรี
-
พัทลุง, นครศรีธรรมราช
-
สงขลา
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
สุราษฎร์ธานี
-
พัทลุง
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สตูล
-
แม่ฮ่องสอน
-
จันทบุรี
-
ลำพูน, เชียงใหม่
-
ชุมพร
-
นครศรีธรรมราช
-
นครศรีธรรมราช
-
ชลบุรี
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กระบี่, ตรัง
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
พังงา
-
พังงา
-
พังงา
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
พะเยา
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ชุมพร
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ชุมพร
-
ชุมพร
-
ลำปาง
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ชะมวง หรือ ส้มโมง ชื่อวิทยาศาสตร์: Garcinia cowa เป็นชื่อของต้นไม้ยืนต้นขนาดย่อมไปจนกระทั่งถึงขนาดกลางชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Clusiaceae พบได้ตามป่าร้อนชื้นทั่วไป เปลือกเรียบ สีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีน้ำยางสีเหลืองขุ่น ใบเดี่ยว ผิวใบเป็นมัน เนื้อใบหนา มีรสเปรี้ยว ดอกเป็นช่อขนาดเล็ก กลีบดอกแข็ง หนา ผลสด ทรงกลม
-
ชะมวง หรือ ส้มโมง ชื่อวิทยาศาสตร์: Garcinia cowa เป็นชื่อของต้นไม้ยืนต้นขนาดย่อมไปจนกระทั่งถึงขนาดกลางชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Clusiaceae พบได้ตามป่าร้อนชื้นทั่วไป เปลือกเรียบ สีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีน้ำยางสีเหลืองขุ่น ใบเดี่ยว ผิวใบเป็นมัน เนื้อใบหนา มีรสเปรี้ยว ดอกเป็นช่อขนาดเล็ก กลีบดอกแข็ง หนา ผลสด ทรงกลม
-
ชะมวง หรือ ส้มโมง ชื่อวิทยาศาสตร์: Garcinia cowa เป็นชื่อของต้นไม้ยืนต้นขนาดย่อมไปจนกระทั่งถึงขนาดกลางชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Clusiaceae พบได้ตามป่าร้อนชื้นทั่วไป เปลือกเรียบ สีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีน้ำยางสีเหลืองขุ่น ใบเดี่ยว ผิวใบเป็นมัน เนื้อใบหนา มีรสเปรี้ยว ดอกเป็นช่อขนาดเล็ก กลีบดอกแข็ง หนา ผลสด ทรงกลม
-
ชะมวง หรือ ส้มโมง ชื่อวิทยาศาสตร์: Garcinia cowa เป็นชื่อของต้นไม้ยืนต้นขนาดย่อมไปจนกระทั่งถึงขนาดกลางชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Clusiaceae พบได้ตามป่าร้อนชื้นทั่วไป เปลือกเรียบ สีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีน้ำยางสีเหลืองขุ่น ใบเดี่ยว ผิวใบเป็นมัน เนื้อใบหนา มีรสเปรี้ยว ดอกเป็นช่อขนาดเล็ก กลีบดอกแข็ง หนา ผลสด ทรงกลม
-
ชะมวง หรือ ส้มโมง ชื่อวิทยาศาสตร์: Garcinia cowa เป็นชื่อของต้นไม้ยืนต้นขนาดย่อมไปจนกระทั่งถึงขนาดกลางชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Clusiaceae พบได้ตามป่าร้อนชื้นทั่วไป เปลือกเรียบ สีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีน้ำยางสีเหลืองขุ่น ใบเดี่ยว ผิวใบเป็นมัน เนื้อใบหนา มีรสเปรี้ยว ดอกเป็นช่อขนาดเล็ก กลีบดอกแข็ง หนา ผลสด ทรงกลม
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,ยอดอ่อนนำไปปรุงอาหารได้
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)