ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปขอบขนานหรือรูปขนานแกมใบหอก กว้าง 2-3 ซม. ยาว 3-9 ซม. ดอก เดี่ยว หรือออกเป็นกระจุก2ดอก ตามซอกใบหรือปลายกิ่งมีกลิ่นหอม ขนาด1ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-7 มม. กลีบดอก 5 กลีบ แยกจากกัน สีส้มหรือสีส้มแดง รูปไข่กลับ กว้าง 3-5 มม. ยาว 8-10 มม. ผิวเกลี้ยง เกสรเพศผู้จำนวนมาก เชื่อมติดกันเป็น3มัด รังไข่เกลี้ยง ผล แห้งแตก กว้าง 8 มม. ยาว 1 ซม. เมล็ดมีปีก รูปไข่กลับ กว้าง 2.5-3 มม. ยาว 6-7 มม. ปีกแบนและบาง
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. ลำต้นและกิ่งเรียบ เกลี้ยง มักมีหนาม ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3–12 ซม. แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2–5 มม. ปลายมน แหลม หรือแหลมยาว โคนรูปลิ่ม ช่อดอกมี 1–5 ดอก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 1–3 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 5–7 มม. ปลายมน มีต่อมเป็นริ้วกระจาย ดอกสีชมพูอมแดงหรือส้ม กลีบรูปไข่กลับ ยาว 0.5–1 ซม. มีต่อมกระจาย ปลายกลม ไม่มีเกล็ด มัดเกสรเพศผู้ยาว 4–8 มม. ระหว่างมัดมีเกล็ดหนารูปลิ้นสีเหลือง ยาวประมาณ 3 มม. ก้านชูอับเรณูสั้น รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 2 มม. ผลรูปรี ยาว 0.8–1.2 ซม. กลีบเลี้ยงหุ้มเกินกึ่งหนึ่ง เมล็ดยาว 6–8 มม. รวมปีก
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปขอบขนานหรือรูปขนานแกมใบหอก กว้าง 2-3 ซม. ยาว 3-9 ซม. ดอก เดี่ยว หรือออกเป็นกระจุก2ดอก ตามซอกใบหรือปลายกิ่งมีกลิ่นหอม ขนาด1ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-7 มม. กลีบดอก 5 กลีบ แยกจากกัน สีส้มหรือสีส้มแดง รูปไข่กลับ กว้าง 3-5 มม. ยาว 8-10 มม. ผิวเกลี้ยง เกสรเพศผู้จำนวนมาก เชื่อมติดกันเป็น3มัด รังไข่เกลี้ยง ผล แห้งแตก กว้าง 8 มม. ยาว 1 ซม. เมล็ดมีปีก รูปไข่กลับ กว้าง 2.5-3 มม. ยาว 6-7 มม. ปีกแบนและบาง
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปขอบขนานหรือรูปขนานแกมใบหอก กว้าง 2-3 ซม. ยาว 3-9 ซม. ดอก เดี่ยว หรือออกเป็นกระจุก2ดอก ตามซอกใบหรือปลายกิ่งมีกลิ่นหอม ขนาด1ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-7 มม. กลีบดอก 5 กลีบ แยกจากกัน สีส้มหรือสีส้มแดง รูปไข่กลับ กว้าง 3-5 มม. ยาว 8-10 มม. ผิวเกลี้ยง เกสรเพศผู้จำนวนมาก เชื่อมติดกันเป็น3มัด รังไข่เกลี้ยง ผล แห้งแตก กว้าง 8 มม. ยาว 1 ซม. เมล็ดมีปีก รูปไข่กลับ กว้าง 2.5-3 มม. ยาว 6-7 มม. ปีกแบนและบาง
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปขอบขนานหรือรูปขนานแกมใบหอก กว้าง 2-3 ซม. ยาว 3-9 ซม. ดอก เดี่ยว หรือออกเป็นกระจุก2ดอก ตามซอกใบหรือปลายกิ่งมีกลิ่นหอม ขนาด1ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-7 มม. กลีบดอก 5 กลีบ แยกจากกัน สีส้มหรือสีส้มแดง รูปไข่กลับ กว้าง 3-5 มม. ยาว 8-10 มม. ผิวเกลี้ยง เกสรเพศผู้จำนวนมาก เชื่อมติดกันเป็น3มัด รังไข่เกลี้ยง ผล แห้งแตก กว้าง 8 มม. ยาว 1 ซม. เมล็ดมีปีก รูปไข่กลับ กว้าง 2.5-3 มม. ยาว 6-7 มม. ปีกแบนและบาง
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 500-700 เมตร ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค.
-
พบตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 500-700 เมตร ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค.
-
พบตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 500-700 เมตร ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค.
-
พบตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 500-700 เมตร ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาปะช้าง-แหลมขาม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่ากราด
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
เชียงใหม่
-
มุกดาหาร
-
สระบุรี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สงขลา
-
สระบุรี
-
สงขลา
-
เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
สงขลา
-
อุตรดิตถ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
อุบลราชธานี
-
เชียงราย
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
ระยอง
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
สตูล
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
เชียงราย, พะเยา
-
สุโขทัย
-
สุโขทัย
-
ตาก
-
น่าน
-
น่าน
-
สุโขทัย
-
ชุมพร
-
ตรัง, สตูล
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กำแพงเพชร
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สตูล, สงขลา
-
สตูล, สงขลา
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
กาฬสินธุ์
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
ชุมพร
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของลำต้นได้ถึง 30 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด เปลือกสีเทาอมน้ำตาล เปลือกต้นด้านในเป็นสีเหลืองอ่อน มีน้ำยางเหนียวสีเหลืองออกสีแดงซึมออกมาเมื่อถูกตัด และลำต้นยังมีหนามแหลมยาวแข็งเป็นเนื้อไม้ออกตามลำต้น สามารถพบได้ในป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลไปจนถึงความสูงประมาณ 700 เมตร ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ดเพาะกล้า ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม (อาจพบบ้างที่ปลายทู่หรือกลม) โคนใบสอบหรือมน ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีความกว้างประมาณ 2-3.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 4.5-10 เซนติเมตร แผ่นใบมีลักษณะบางคล้ายกระดาษถึงกึ่งหนาคล้ายกับแผ่นหนัง แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านล่างมักมีนวล เส้นแขนงของใบมีอยู่ข้างละ 10-18 เส้น ปลายเชื่อมกันก่อนถึงขอบใบ และมีก้านใบยาวประมาณ 2-4 มิลลิเมตร ดอกเป็นดอกเดี่ยวหรือออกเป็นกระจุกประมาณ 2-5 ดอก โดยจะออกดอกตามซอกใบหรือตามปลายกิ่ง ดอกเป็นแบบสมบูรณ์เพศ มีใบประดับขนาดเล็ก ร่วงหลุดได้ง่าย ดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.2 เซนติเมตร ส่วนก้านดอกยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ดอกมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ โดยจะแยกเป็น 2 วง ได้แก่ กลีบเลี้ยงวงนอก 3 กลีบ ตรงกลางของกลีบวงนอกเป็นสีม่วงแดง ขอบสีเขียว และขนาดของกลีบจะใหญ่กว่ากลีบเลี้ยงวงในเล็กน้อย และกลีบเลี้ยงวงในมี 2 กลีบ เป็นกลีบสีเขียว ลักษณะเป็นรูปไข่หรือรูปไข่กลับ มีขนาดกว้างประมาณ 4-5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 5-7 เซนติเมตร ส่วนกลีบดอกมี 5 กลีบ แยกออกจากกัน เป็นสีส้มหรือส้มแดง ลักษณะกลีบดอกเป็นรูปไข่กลับ มีขนาดกว้างประมาณ 3-4 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 6-7 มิลลิเมตร ผิวกลีบเกลี้ยง มีเส้นสีม่วงแดงถึงสีดำตามยาว ดอกมีเกสรตัวผู้จำนวนมากเชื่อมติดกันเป็น 3 กลุ่ม สลับกับกลุ่มของเกสรตัวผู้ที่ไม่สมบูรณ์ 3 ก้าน ลักษณะเป็นก้อน อวบน้ำ มีสีเหลือง ส่วนรังไข่จะอยู่เหนือวงกลีบเลี้ยง มี 3 ช่อง ในแต่ละช่องจะมีออวุลอยู่จำนวนมาก ส่วนก้านเกสรตัวเมียมี 3 ก้าน แยกออกจากกัน ผลเป็นแบบผลแห้งแตก ลักษณะของผลเป็นรูปวงรี ผลแข็งเกลี้ยงและเป็นมัน มีขนาดกว้างประมาณ 7-8 มิลลิเมตรและยาวประมาณ 10-12 มิลลิเมตร ผลมีกลีบเลี้ยงติดทนหุ้มอยู่ประมาณ 2 ใน 3 ของความยาวผล ผลเมื่อแก่จะแตกตามรอยประสานออกเป็น 3 พู ภายในผลมีเมล็ดอยู่ประมาณ 6-8 เมล็ดต่อพู เมล็ดเป็นลักษณะมีปีกแบนและบางใส โดยจะออกดอกและผลในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนสิงหาคม
-
จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของลำต้นได้ถึง 30 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด เปลือกสีเทาอมน้ำตาล เปลือกต้นด้านในเป็นสีเหลืองอ่อน มีน้ำยางเหนียวสีเหลืองออกสีแดงซึมออกมาเมื่อถูกตัด และลำต้นยังมีหนามแหลมยาวแข็งเป็นเนื้อไม้ออกตามลำต้น สามารถพบได้ในป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลไปจนถึงความสูงประมาณ 700 เมตร ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ดเพาะกล้า ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม (อาจพบบ้างที่ปลายทู่หรือกลม) โคนใบสอบหรือมน ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีความกว้างประมาณ 2-3.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 4.5-10 เซนติเมตร แผ่นใบมีลักษณะบางคล้ายกระดาษถึงกึ่งหนาคล้ายกับแผ่นหนัง แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านล่างมักมีนวล เส้นแขนงของใบมีอยู่ข้างละ 10-18 เส้น ปลายเชื่อมกันก่อนถึงขอบใบ และมีก้านใบยาวประมาณ 2-4 มิลลิเมตร ดอกเป็นดอกเดี่ยวหรือออกเป็นกระจุกประมาณ 2-5 ดอก โดยจะออกดอกตามซอกใบหรือตามปลายกิ่ง ดอกเป็นแบบสมบูรณ์เพศ มีใบประดับขนาดเล็ก ร่วงหลุดได้ง่าย ดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.2 เซนติเมตร ส่วนก้านดอกยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ดอกมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ โดยจะแยกเป็น 2 วง ได้แก่ กลีบเลี้ยงวงนอก 3 กลีบ ตรงกลางของกลีบวงนอกเป็นสีม่วงแดง ขอบสีเขียว และขนาดของกลีบจะใหญ่กว่ากลีบเลี้ยงวงในเล็กน้อย และกลีบเลี้ยงวงในมี 2 กลีบ เป็นกลีบสีเขียว ลักษณะเป็นรูปไข่หรือรูปไข่กลับ มีขนาดกว้างประมาณ 4-5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 5-7 เซนติเมตร ส่วนกลีบดอกมี 5 กลีบ แยกออกจากกัน เป็นสีส้มหรือส้มแดง ลักษณะกลีบดอกเป็นรูปไข่กลับ มีขนาดกว้างประมาณ 3-4 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 6-7 มิลลิเมตร ผิวกลีบเกลี้ยง มีเส้นสีม่วงแดงถึงสีดำตามยาว ดอกมีเกสรตัวผู้จำนวนมากเชื่อมติดกันเป็น 3 กลุ่ม สลับกับกลุ่มของเกสรตัวผู้ที่ไม่สมบูรณ์ 3 ก้าน ลักษณะเป็นก้อน อวบน้ำ มีสีเหลือง ส่วนรังไข่จะอยู่เหนือวงกลีบเลี้ยง มี 3 ช่อง ในแต่ละช่องจะมีออวุลอยู่จำนวนมาก ส่วนก้านเกสรตัวเมียมี 3 ก้าน แยกออกจากกัน ผลเป็นแบบผลแห้งแตก ลักษณะของผลเป็นรูปวงรี ผลแข็งเกลี้ยงและเป็นมัน มีขนาดกว้างประมาณ 7-8 มิลลิเมตรและยาวประมาณ 10-12 มิลลิเมตร ผลมีกลีบเลี้ยงติดทนหุ้มอยู่ประมาณ 2 ใน 3 ของความยาวผล ผลเมื่อแก่จะแตกตามรอยประสานออกเป็น 3 พู ภายในผลมีเมล็ดอยู่ประมาณ 6-8 เมล็ดต่อพู เมล็ดเป็นลักษณะมีปีกแบนและบางใส โดยจะออกดอกและผลในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนสิงหาคม
-
จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของลำต้นได้ถึง 30 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด เปลือกสีเทาอมน้ำตาล เปลือกต้นด้านในเป็นสีเหลืองอ่อน มีน้ำยางเหนียวสีเหลืองออกสีแดงซึมออกมาเมื่อถูกตัด และลำต้นยังมีหนามแหลมยาวแข็งเป็นเนื้อไม้ออกตามลำต้น สามารถพบได้ในป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลไปจนถึงความสูงประมาณ 700 เมตร ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ดเพาะกล้า ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม (อาจพบบ้างที่ปลายทู่หรือกลม) โคนใบสอบหรือมน ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีความกว้างประมาณ 2-3.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 4.5-10 เซนติเมตร แผ่นใบมีลักษณะบางคล้ายกระดาษถึงกึ่งหนาคล้ายกับแผ่นหนัง แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านล่างมักมีนวล เส้นแขนงของใบมีอยู่ข้างละ 10-18 เส้น ปลายเชื่อมกันก่อนถึงขอบใบ และมีก้านใบยาวประมาณ 2-4 มิลลิเมตร ดอกเป็นดอกเดี่ยวหรือออกเป็นกระจุกประมาณ 2-5 ดอก โดยจะออกดอกตามซอกใบหรือตามปลายกิ่ง ดอกเป็นแบบสมบูรณ์เพศ มีใบประดับขนาดเล็ก ร่วงหลุดได้ง่าย ดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.2 เซนติเมตร ส่วนก้านดอกยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ดอกมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ โดยจะแยกเป็น 2 วง ได้แก่ กลีบเลี้ยงวงนอก 3 กลีบ ตรงกลางของกลีบวงนอกเป็นสีม่วงแดง ขอบสีเขียว และขนาดของกลีบจะใหญ่กว่ากลีบเลี้ยงวงในเล็กน้อย และกลีบเลี้ยงวงในมี 2 กลีบ เป็นกลีบสีเขียว ลักษณะเป็นรูปไข่หรือรูปไข่กลับ มีขนาดกว้างประมาณ 4-5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 5-7 เซนติเมตร ส่วนกลีบดอกมี 5 กลีบ แยกออกจากกัน เป็นสีส้มหรือส้มแดง ลักษณะกลีบดอกเป็นรูปไข่กลับ มีขนาดกว้างประมาณ 3-4 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 6-7 มิลลิเมตร ผิวกลีบเกลี้ยง มีเส้นสีม่วงแดงถึงสีดำตามยาว ดอกมีเกสรตัวผู้จำนวนมากเชื่อมติดกันเป็น 3 กลุ่ม สลับกับกลุ่มของเกสรตัวผู้ที่ไม่สมบูรณ์ 3 ก้าน ลักษณะเป็นก้อน อวบน้ำ มีสีเหลือง ส่วนรังไข่จะอยู่เหนือวงกลีบเลี้ยง มี 3 ช่อง ในแต่ละช่องจะมีออวุลอยู่จำนวนมาก ส่วนก้านเกสรตัวเมียมี 3 ก้าน แยกออกจากกัน ผลเป็นแบบผลแห้งแตก ลักษณะของผลเป็นรูปวงรี ผลแข็งเกลี้ยงและเป็นมัน มีขนาดกว้างประมาณ 7-8 มิลลิเมตรและยาวประมาณ 10-12 มิลลิเมตร ผลมีกลีบเลี้ยงติดทนหุ้มอยู่ประมาณ 2 ใน 3 ของความยาวผล ผลเมื่อแก่จะแตกตามรอยประสานออกเป็น 3 พู ภายในผลมีเมล็ดอยู่ประมาณ 6-8 เมล็ดต่อพู เมล็ดเป็นลักษณะมีปีกแบนและบางใส โดยจะออกดอกและผลในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนสิงหาคม
-
จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของลำต้นได้ถึง 30 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด เปลือกสีเทาอมน้ำตาล เปลือกต้นด้านในเป็นสีเหลืองอ่อน มีน้ำยางเหนียวสีเหลืองออกสีแดงซึมออกมาเมื่อถูกตัด และลำต้นยังมีหนามแหลมยาวแข็งเป็นเนื้อไม้ออกตามลำต้น สามารถพบได้ในป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลไปจนถึงความสูงประมาณ 700 เมตร ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ดเพาะกล้า ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม (อาจพบบ้างที่ปลายทู่หรือกลม) โคนใบสอบหรือมน ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีความกว้างประมาณ 2-3.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 4.5-10 เซนติเมตร แผ่นใบมีลักษณะบางคล้ายกระดาษถึงกึ่งหนาคล้ายกับแผ่นหนัง แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านล่างมักมีนวล เส้นแขนงของใบมีอยู่ข้างละ 10-18 เส้น ปลายเชื่อมกันก่อนถึงขอบใบ และมีก้านใบยาวประมาณ 2-4 มิลลิเมตร ดอกเป็นดอกเดี่ยวหรือออกเป็นกระจุกประมาณ 2-5 ดอก โดยจะออกดอกตามซอกใบหรือตามปลายกิ่ง ดอกเป็นแบบสมบูรณ์เพศ มีใบประดับขนาดเล็ก ร่วงหลุดได้ง่าย ดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.2 เซนติเมตร ส่วนก้านดอกยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ดอกมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ โดยจะแยกเป็น 2 วง ได้แก่ กลีบเลี้ยงวงนอก 3 กลีบ ตรงกลางของกลีบวงนอกเป็นสีม่วงแดง ขอบสีเขียว และขนาดของกลีบจะใหญ่กว่ากลีบเลี้ยงวงในเล็กน้อย และกลีบเลี้ยงวงในมี 2 กลีบ เป็นกลีบสีเขียว ลักษณะเป็นรูปไข่หรือรูปไข่กลับ มีขนาดกว้างประมาณ 4-5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 5-7 เซนติเมตร ส่วนกลีบดอกมี 5 กลีบ แยกออกจากกัน เป็นสีส้มหรือส้มแดง ลักษณะกลีบดอกเป็นรูปไข่กลับ มีขนาดกว้างประมาณ 3-4 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 6-7 มิลลิเมตร ผิวกลีบเกลี้ยง มีเส้นสีม่วงแดงถึงสีดำตามยาว ดอกมีเกสรตัวผู้จำนวนมากเชื่อมติดกันเป็น 3 กลุ่ม สลับกับกลุ่มของเกสรตัวผู้ที่ไม่สมบูรณ์ 3 ก้าน ลักษณะเป็นก้อน อวบน้ำ มีสีเหลือง ส่วนรังไข่จะอยู่เหนือวงกลีบเลี้ยง มี 3 ช่อง ในแต่ละช่องจะมีออวุลอยู่จำนวนมาก ส่วนก้านเกสรตัวเมียมี 3 ก้าน แยกออกจากกัน ผลเป็นแบบผลแห้งแตก ลักษณะของผลเป็นรูปวงรี ผลแข็งเกลี้ยงและเป็นมัน มีขนาดกว้างประมาณ 7-8 มิลลิเมตรและยาวประมาณ 10-12 มิลลิเมตร ผลมีกลีบเลี้ยงติดทนหุ้มอยู่ประมาณ 2 ใน 3 ของความยาวผล ผลเมื่อแก่จะแตกตามรอยประสานออกเป็น 3 พู ภายในผลมีเมล็ดอยู่ประมาณ 6-8 เมล็ดต่อพู เมล็ดเป็นลักษณะมีปีกแบนและบางใส โดยจะออกดอกและผลในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนสิงหาคม
-
จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของลำต้นได้ถึง 30 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด เปลือกสีเทาอมน้ำตาล เปลือกต้นด้านในเป็นสีเหลืองอ่อน มีน้ำยางเหนียวสีเหลืองออกสีแดงซึมออกมาเมื่อถูกตัด และลำต้นยังมีหนามแหลมยาวแข็งเป็นเนื้อไม้ออกตามลำต้น สามารถพบได้ในป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลไปจนถึงความสูงประมาณ 700 เมตร ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ดเพาะกล้า ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม (อาจพบบ้างที่ปลายทู่หรือกลม) โคนใบสอบหรือมน ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีความกว้างประมาณ 2-3.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 4.5-10 เซนติเมตร แผ่นใบมีลักษณะบางคล้ายกระดาษถึงกึ่งหนาคล้ายกับแผ่นหนัง แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านล่างมักมีนวล เส้นแขนงของใบมีอยู่ข้างละ 10-18 เส้น ปลายเชื่อมกันก่อนถึงขอบใบ และมีก้านใบยาวประมาณ 2-4 มิลลิเมตร ดอกเป็นดอกเดี่ยวหรือออกเป็นกระจุกประมาณ 2-5 ดอก โดยจะออกดอกตามซอกใบหรือตามปลายกิ่ง ดอกเป็นแบบสมบูรณ์เพศ มีใบประดับขนาดเล็ก ร่วงหลุดได้ง่าย ดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.2 เซนติเมตร ส่วนก้านดอกยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ดอกมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ โดยจะแยกเป็น 2 วง ได้แก่ กลีบเลี้ยงวงนอก 3 กลีบ ตรงกลางของกลีบวงนอกเป็นสีม่วงแดง ขอบสีเขียว และขนาดของกลีบจะใหญ่กว่ากลีบเลี้ยงวงในเล็กน้อย และกลีบเลี้ยงวงในมี 2 กลีบ เป็นกลีบสีเขียว ลักษณะเป็นรูปไข่หรือรูปไข่กลับ มีขนาดกว้างประมาณ 4-5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 5-7 เซนติเมตร ส่วนกลีบดอกมี 5 กลีบ แยกออกจากกัน เป็นสีส้มหรือส้มแดง ลักษณะกลีบดอกเป็นรูปไข่กลับ มีขนาดกว้างประมาณ 3-4 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 6-7 มิลลิเมตร ผิวกลีบเกลี้ยง มีเส้นสีม่วงแดงถึงสีดำตามยาว ดอกมีเกสรตัวผู้จำนวนมากเชื่อมติดกันเป็น 3 กลุ่ม สลับกับกลุ่มของเกสรตัวผู้ที่ไม่สมบูรณ์ 3 ก้าน ลักษณะเป็นก้อน อวบน้ำ มีสีเหลือง ส่วนรังไข่จะอยู่เหนือวงกลีบเลี้ยง มี 3 ช่อง ในแต่ละช่องจะมีออวุลอยู่จำนวนมาก ส่วนก้านเกสรตัวเมียมี 3 ก้าน แยกออกจากกัน ผลเป็นแบบผลแห้งแตก ลักษณะของผลเป็นรูปวงรี ผลแข็งเกลี้ยงและเป็นมัน มีขนาดกว้างประมาณ 7-8 มิลลิเมตรและยาวประมาณ 10-12 มิลลิเมตร ผลมีกลีบเลี้ยงติดทนหุ้มอยู่ประมาณ 2 ใน 3 ของความยาวผล ผลเมื่อแก่จะแตกตามรอยประสานออกเป็น 3 พู ภายในผลมีเมล็ดอยู่ประมาณ 6-8 เมล็ดต่อพู เมล็ดเป็นลักษณะมีปีกแบนและบางใส โดยจะออกดอกและผลในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนสิงหาคม
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,ไม้ดอกไม้ประดับ,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,เครื่องสำอางค์,เชื้อเพลิง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |